ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
สถานการณ์ส้วมสาธารณะในกรุงเทพมหานคร
เป้าหมาย ร้อยละ 98 ตัวชี้วัด ยุทธศาสตร์ที่ 2 บริการเฉพาะ ข้อที่ 25 ร้อยละความสำเร็จของข้อร้องเรียนของผู้บริโภค ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ ได้รับการแก้ไขภายในระยะเวลาตามที่กำหนด.
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
แผนการดำเนินงานปี 2558 กลุ่มโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน
การส่งเสริมศักยภาพ การคุ้มครอง พิทักษ์สิทธิประชาชนในแต่ละ กลุ่มเป้าหมาย โดยการกำหนด มาตรการ กลไก ส่งเสริมสนับสนุน ภาครัฐและเอกชนในการดำเนินการ ตามนโยบายและมาตรการที่กำหนด.
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
เป็นเจ้าภาพหลัก 2 ประเด็น เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค ด้านสุขภาพ (ปรับปรุง )
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพ ด้านพัฒนาระบบการคุ้มครองผู้บริโภค
การจัดทำแผนปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กันยายน 2557.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
๒ ปี...ก้าวย่างของการพัฒนา
สำนักบูรณาการสาธารณภัย อุบัติภัย และความปลอดภัยทางถนน มิติการพัฒนา องค์กร มิติประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ มิติคุณภาพ การให้บริการ มิติประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์
2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง ตัวชี้วัดระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้าน บริการ อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ประเด็น / ตัวชี้วัดผลงาน 1. การกำกับดูแลคุณภาพน้ำบริโภคในภาชนะ.
ศูนย์บริหารกฎหมาย สาธารณสุข แนวทางการสนับสนุน การดำเนินงานคณะอนุกรรมการ สาธารณสุขจังหวัด (อสธจ.)
วิสัยทัศน์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ สิ่งสำคัญที่ต้องทำ ให้บรรลุ เพื่อตอบสนอง วิสัยทัศน์ เป้าประสง ค์ หลัก ประสิทธิภ าพ ผลสำเร็จ สูงสุดของ องค์กรซึ่ง ประชาชน.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
ข้อมูลทั่วไป จังหวัดศสม.รพสต.กองทุน สุขภาพตำบล สุขศาลา/ ศสมช. (ผ่าน3หมวด) อสม. ร้อยเอ็ด ,887 ขอนแก่น ,600 มหาสารคาม ,524.
สถานการณ์ด้านอนามัย สิ่งแวดล้อม. สถานการณ์การออกเทศบัญญัติ / ข้อกำหนด เทศ บัญญัติ / ข้อกำหน ด กาฬสินธุ์ (%) ขอนแก่ น (%) มหาสารคา ม (%) ร้อยเอ็ ด (%)
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
เยี่ยมเสริมพลัง การจัดการความรู้ วันที่ 14 ก. ย
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
(ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี พ.ศ –2579)
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
ร่าง ยุทธศาสตร์ สป.พม. พ.ศ
ส้วมสะอาดในร้านอาหาร
ทิศทางการดำเนินงาน สุขาภิบาลอาหารและคุณภาพน้ำบริโภค ปี 2557
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ข้อเสนอ การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม
ด้านสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
การดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
แนวทางการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปี 2562
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
สรุปผลการดำเนินงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) ไตรมาส 4 ปีงบประมาณ 2560
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
การดำเนินงาน GREEN & CLEAN Hospital จังหวัดน่าน ปีงบประมาณ 2561
สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดฉะเชิงเทรา
นโยบายการขับเคลื่อน อาหารปลอดภัยของประเทศ
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
จังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี ปี 54
จุฑารัตน์ สะธรรมกิจ ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ Goal : ประชาชนบริโภคอาหารและน้ำที่ปลอดภัย output : 1. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีระบบการจัดการสุขาภิบาลอาหารและน้ำ 2. ผู้ผลิตน้ำประปาผลิตน้ำประปาที่ได้มาตรฐานน้ำประปาดื่มได้ 3. ประชาชนมีความรู้ในการบริโภคอาหารที่ถูกต้อง และเข้าถึงการ จัดบริการอาหารและน้ำที่สะอาดปลอดภัย outcome : 1.ประชาชนได้รับการป้องกันและควบคุมปัจจัยคุกคามด้านความปลอดภัย ของอาหารและน้ำบริโภค 2. ประชาชนได้บริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัยจากสถานประกอบการด้าน อาหารที่ได้มาตรฐาน 3. ประชาชนดื่มน้ำสะอาดเพียงพอ 4. ประชาชนมีพฤติกรรมการบริโภคที่ถูกต้อง (กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ)

ประเด็นยุทธศาสตร์ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ Strategic Goal : เพื่อป้องกันและควบคุมปัจจัยที่คุกคามสุขภาพและ คุ้มครองสิทธิของประชาชนด้านความปลอดภัยของอาหารและน้ำบริโภค เหตุผลในการกำหนดเป็นประเด็นยุทธศาสตร์ 1. สอดคล้องกับบทบาทกรมอนามัยในการขับเคลื่อนนโยบายอาหารปลอดภัย 2. เป็นงานที่ต้องบูรณาการกับหน่วยงานต่างๆ ทั้งในและนอกกระทรวงสาธารณสุข 3. สนับสนุนแนวนโยบายแห่งรัฐในการกระจายอำนาจให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 4. สนับสนุนการดำเนินการตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535 5. สอดคล้องกับกรอบยุทธศาสตร์การจัดการด้านอาหารของประเทศไทยของ คณะกรรมการอาหารแห่งชาติ ในยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านคุณภาพและความปลอดภัย อาหาร 2

แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ประเด็นยุทธศาสตร์ ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ ปี พ.ศ. 2555-2558 ป้องกันและควบคุมปัจจัยที่คุกคามสุขภาพและคุ้มครองสิทธิของประชาชนด้านความปลอดภัยของอาหารและน้ำบริโภค 1.ประชาชนได้รับการป้องกันและควบคุมปัจจัยคุกคามด้านความปลอดภัยของอาหารและน้ำบริโภค S 1 การเสริมสร้างความรู้แก่ประชาชน 2.ประชาชนได้รับบริการจากสถานประกอบการด้านอาหารและ น้ำบริโภคที่ได้มาตรฐาน S 1 ส่งเสริมสนับสนุนการรับรองมาตรฐาน ประชาชน 3.อปท.มีระบบการจัดการสุขาภิบาลอาหารและน้ำที่มีคุณภาพ S1 พัฒนาระบบการจัดการสุขาภิบาลอาหารและน้ำ 4.หน่วยงานส่วนกลาง (กสธ.) มีส่วนร่วมสนับสนุนการดำเนินงาน S1 บูรณาการตามกรอบยุทธศาสตร์ด้านคุณภาพและความปลอดภัยอาหาร 5.หน่วยงานในสังกัดกสธ.ระดับเขตและจังหวัดมีส่วนร่วมสนับสนุนการดำเนินงาน S1 พัฒนาศักยภาพ 6.ภาคีภาครัฐ ธุรกิจเอกชน และประชาสังคมมีส่วนร่วมและสนับสนุนการจัดการและดำเนินงาน S1 พัฒนาความสัมพันธ์ 7.เครือข่ายสื่อมวลชน สื่อสังคมสามารถสื่อสารข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ S1 พัฒนาความสัมพันธ์ ภาคีเครือข่าย 9.มีระบบการเฝ้าระวังและเตือนภัย การสื่อสารความเสี่ยง S1 พัฒนาระบบการเฝ้าระวัง 8.มีการพัฒนานโยบายสาธารณะและข้อเสนอเชิงนโยบาย รวมทั้งการเสริมอำนาจภาคประชาชน S1 พัฒนาประเด็นสำคัญเพื่อเสนอเป็นนโยบายสาธารณะ 12.มีระบบอำนวยความยุติธรรม S1 ติดตามการใช้มาตรการทางกฎหมาย 10.มีระบบพัฒนาบุคลากรด้านสุขาภิบาลอาหารและน้ำ S1 พัฒนาระบบการถ่ายทอดองค์ความรู้ 11.มีระบบการพัฒนาองค์ความรู้และการจัดการความรู้ S1 พัฒนาองค์ความรู้ และจัดการความรู้ 13.การสื่อสารสาธารณะ S1 จัดระบบการสื่อสารและสร้างความสัมพันธ์ระหว่างภาคีเครือข่าย S2 รณรงค์สร้างกระแส กระบวนการ 16.มีระบบการประกันคุณภาพ S1 พัฒนาระบบการประกันคุณภาพ 14.มีระบบติดตาม และประเมินผลที่มีประสิทธิภาพ S1 พัฒนาระบบติดตาม และประเมินผล 15.มีระบบการตรวจวิเคราะห์ทางวืทยาศาสตร์ที่ได้มาตรฐาน S1 พัฒนาการตรวจวิเคราะห์ที่ได้มาตรฐาน 17.บุคลากรกรมอนามัยมีสมรรถนะด้านวิชาการและการจัดการ S1 พัฒนาบุคลากรให้เป็นมืออาชีพ 18.มีระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศที่ถูกต้อง ทันสมัย เข้าถึงง่าย S1 พัฒนาระบบฐานข้อมูลกลาง 19.มีโครงสร้างและอัตรากำลังที่เหมาะสม S1 ปรับเปลี่ยนระบบงานและมอบหมายงานให้เหมาะสมกับภารกิจ พื้นฐาน

แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ประเด็นยุทธศาสตร์ ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ ปี พ.ศ. 2555-2558 ป้องกันและควบคุมปัจจัยที่คุกคามสุขภาพและคุ้มครองสิทธิของประชาชนด้านความปลอดภัยของอาหารและน้ำบริโภค 1.ประชาชนได้รับการป้องกันและควบคุมปัจจัยคุกคามด้านความปลอดภัยของอาหารและน้ำบริโภค KPI : อาหารและน้ำบริโภคมีการปนเปื้อนลดลง 2.ประชาชนได้รับบริการจากสถานประกอบการด้านอาหารและน้ำบริโภคที่ได้มาตรฐาน KPI : สถานประกอบการด้านอาหารและน้ำบริโภคได้มาตรฐานเพิ่มขึ้น ประชาชน 3.อปท.มีระบบการจัดการสุขาภิบาลอาหารและน้ำที่มีคุณภาพ KPI : จำนวน อปท.ที่มีระบบการจัดการสุขาภิบาลอาหารและน้ำ 4.หน่วยงานส่วนกลาง (กสธ.) มีส่วนร่วมสนับสนุนการดำเนินงาน KPI : จำนวนหน่วยงานที่บูรณาการดำเนินงาน 5.หน่วยงานในสังกัดกสธ.ระดับเขตและจังหวัดมีส่วนร่วมสนับสนุนการดำเนินงาน KPI : จำนวนหน่วยงานที่ขับเคลื่อน แนะนำ ให้คำปรึกษา ถ่ายทอด 6.ภาคีภาครัฐ ธุรกิจเอกชน และประชาสังคมมีส่วนร่วมและสนับสนุนการจัดการและดำเนินงาน KPI : จำนวนภาคีเครือข่ายที่มีส่วนร่วมในการจัดการและดำเนินงานด้านสุขาภิบาลอาหารและน้ำ 7.เครือข่ายสื่อมวลชน สื่อสังคมสามารถสื่อสารข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ KPI : มีการประชาสัมพันธ์ด้านสุขาภิบาลอาหารและน้ำ ภาคีเครือข่าย 9.มีระบบการเฝ้าระวังและเตือนภัย การสื่อสารความเสี่ยง KPI : จำนวนการเตือนภัย / จำนวนรายงานสถานการณ์การเฝ้าระวังด้านสุขาภิบาลอาหารและน้ำ 8.มีการพัฒนานโยบายสาธารณะและข้อเสนอเชิงนโยบาย รวมทั้งการเสริมอำนาจภาคประชาชน KPI : จำนวนนโยบายและข้อเสนอเชิงนโยบาย 12.มีระบบอำนวยความยุติธรรม KPI : ความสำเร็จของการจัดการเรื่องอุทธรณ์ 10.มีระบบพัฒนาบุคลากรด้านสุขาภิบาลอาหารและน้ำ KPI : บุคลากรมีความรู้ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด KPI : จำนวนหลักสูตร 11.มีระบบการพัฒนาองค์ความรู้และการจัดการความรู้ KPI : จำนวนความรู้ที่นำไปใช้ KPI : จำนวนความร็ที่เกิดขึ้น กระบวนการ 13.การสื่อสารสาธารณะ KPI : จำนวนชุดความรู้ที่สื่อสาร 16.มีระบบการประกันคุณภาพ KPI : จำนวน อปท. ที่เข้าร่วมระบบการประกันคุณภาพ 14.มีระบบติดตาม และประเมินผลที่มีประสิทธิภาพ KPI : รายงานสถานการณ์ของพื้นที่ 15.มีระบบการตรวจวิเคราะห์ทางวืทยาศาสตร์ที่ได้มาตรฐาน KPI : จำนวนวิธีตรวจวิเคราะห์ที่ได้มาตรฐาน KPI : จำนวนตัวอย่างที่ได้รับการตรวจ 17.บุคลากรกรมอนามัยมีสมรรถนะด้านวิชาการและการจัดการ KPI : จำนวนบุคลากรของกรมอนามัยที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพ 18.มีระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศที่ถูกต้อง ทันสมัย เข้าถึงง่าย KPI : ระบบฐานข้อมูลสุขาภิบาลอาหารและน้ำที่ถูกต้อง ทันสมัย 19.มีโครงสร้างและอัตรากำลังที่เหมาะสม KPI : มีแผนพัฒนาโครงสร้างอัตรากำลังผู้รับผิดชอบงานสุขาภิบาลอาหารและน้ำ ของกรมอนามัย พื้นฐาน 4

ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายประเด็นยุทธศาสตร์ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ ค่า เป้าหมา ย 2555 2556 2557 2558 1. สถานประกอบการ ด้านอาหารและน้ำ บริโภคได้มาตรฐาน เพิ่มขึ้น 1.1 ร้านอาหารและแผง ลอยจำหน่ายอาหารได้ มาตรฐาน CFGT ร้อยละ 80 1.2 ตลาดประเภทที่ 1 ได้มาตรฐานตลาด สด น่าซื้อ 1.3 ระบบประปา ภูมิภาคผ่านการรับรอง มาตรฐานน้ำประปาดื่ม ได้ 60 70 90

ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายประเด็นยุทธศาสตร์ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ ค่า เป้าหมาย 2555 2556 2557 2558 1.4 ระบบประปา เทศบาลผ่านการรับรอง มาตรฐานน้ำประปาดื่ม ได้ ร้อยละ 10 20 30 40 1.5 ระบบประปา หมู่บ้านผ่านการรับรอง มาตรฐานน้ำประปาดื่ม ได้ 1 2 3 4 2. จำนวน อปท.ที่มี ระบบการจัดการ สุขาภิบาลอาหาร ระดับพื้นฐาน แห่ง 48 3. จำนวน อปท.ที่มี ระบบการจัดบริการน้ำ บริโภคระดับพื้นฐาน

ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายประเด็นยุทธศาสตร์ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ ค่า เป้าหมาย 2555 2556 2557 2558 4. อาหารและน้ำ บริโภคมีการ ปนเปื้อนลดลง ร้อยละของ ตัวอย่าง อาหารและ น้ำบริโภค ที่มีการ ปนเปื้อน 40 35 30 25