แผนตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านการแพทย์ฉุกเฉิน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การดำเนินการเยี่ยมบ้าน ของศูนย์สุขภาพชุมชน
Advertisements

นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
ความรู้เรื่องประชาคมอาเซียน
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
ให้ความรู้ผู้ป่วยโรคไซนัสอักเสบ
ณ 31 พฤษภาคม
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
1. 2 กิจกรรมหลัก ส่งเสริมและพัฒนา องค์กรและเกษตรกร ที่ตัวชี้วัด หน่วยนับ แผนผล % หมายเหตุ 1 สหกรณ์ผ่านเกณฑ์มาตรฐานแห่ง กลุ่มเกษตรกรผ่านเกณฑ์มาตรฐานแห่ง.
ประชุมติดตามผลการดำเนินงานเกณฑ์มาตรฐานระบบงานเยี่ยมบ้าน
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
และองค์การบริหารส่วนจังหวัดกาญจนบุรีสาขาระดับอำเภอ 6 สาขา
องค์การบริหารส่วนตำบลข่วงเปา
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
Ubonratchathani Provincial Public Health Office
อัตร า บรร จุ ข้าราชการ 44 พนักงาน ราชการ 33 ลูกจ้าง -- รวม 77 อัตราว่าง พนักงานราชการ 3 มาช่วย ราชการ ถูกยืมตัว ลาเรียน ผอ. สำนักงานวิเทศ สัมพันธ์ (1/1)
สำนักประสานและติดตามนโยบาย สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
คณะที่ 3 การพัฒนาระบบ บริหารจัดการ ประเด็น การพัฒนาบุคลากร ประเด็น ตรวจราชการ ขั้นต อน ที่ 1 ขั้นต อน ที่ 2 ขั้นต อน ที่ 3 ขั้นต อน ที่ 4 ขั้นต อน ที่
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 39 สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน 16 พฤษภาคม 2558 ณ โรงแรมน่านเจ้า จังหวัดพิษณุโลก การประชุมชี้แจง เรื่อง.
แนวทางการบริหารจัดการเขต พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษโดย สหกรณ์ นายเชิดชัย พรหมแก้ว ผู้อำนวยการกองพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตร และกลุ่มเกษตรกร กรมส่งเสริมสหกรณ์ วันที่
โครงการปลุกพลังเปลี่ยนไทย Inspiring Thailand โครงการผนึกพลังขับเคลื่อนภาคพลเมือง สู่ประเทศไทยมิติ ใหม่ Solidarity for change.
KM WEBSITE กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข เสนอ อาจารย์ สุกัลยา ชาญสมร.
ระบบการรักษาพยาบาลฉุกเฉิน ECS (Emergency Care System)
โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
ทิศทางการนำระบบบริหาร จัดการคลังข้อสอบ และการทดสอบมาตรฐานฝีมือ แรงงาน ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์สู่หน่วย ปฏิบัติ โดย วรรณี โกมลกวิน ผู้อำนวยการกลุ่มงานกำหนด.
การส่งเสริมการป้องกัน สาธารณภัย โดย นายกอบชัย บุญอรณะ ผู้อำนวยการสำนักนโยบายป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัย รักษา ราชการแทน ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมการ ป้องกันสาธารณภัย.
โดย ดร. สิทธิชัย มูลเขียน ตำแหน่ง ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา เขต 34.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ระบบบัญชาการในสถานการณ์ Incident Command System: ICS
การจัดตั้งและการดำเนินงาน ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน (ศพค.)
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง
SP สาขาอุบัติเหตุและฉุกเฉิน
การกำกับดูแลวิชาชีพ ด้านการพยาบาล (Nursing) 6 กรกฎาคม 2559
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
กระบวนงานการให้บริการ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ผู้ปฏิบัติ : ทีมสนับสนุน
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
อดีต ปัจจุบัน อนาคต ของเอชไอวี ในประเทศไทย
ในช่วงเทศกาลสงกรานต์ พ.ศ.2560
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ข้อเสนอ การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
แนวปฏิบัติ การจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
จังหวัดสมุทรปราการ.
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
การจัดการความรู้ Knowledge Management
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบบริการปฐมภูมิและสุขภาพอำเภอ
โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่นโดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง (TOR) คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม . . ฝ่ายวิชาการ . .
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แผนตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านการแพทย์ฉุกเฉิน สุรชัย ศิลาวรรณ ผู้อำนวยการสำนักจัดระบบการแพทย์ฉุกเฉิน สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ

กรอบภารกิจของงานการแพทย์ฉุกเฉิน 1.การป้องกันการเจ็บป่วยที่จะเกิดขึ้นฉุกเฉิน 2.การดูแลรักษาให้ความช่วยเหลือผู้เจ็บป่วย ฉุกเฉินนอกโรงพยาบาล (Pre hospital care) 3.การดูแลรักษาผู้เจ็บป่วยฉุกเฉินใน โรงพยาบาล (In hospital care) 4.การดูแลรักษาผู้เจ็บป่วยฉุกเฉินระหว่าง โรงพยาบาล ( Inter hospital care) 5.การดำเนินงานด้านการแพทย์ฉุกเฉินใน สถานการณ์เกิดภัยพิบัติ

ขั้นตอนการปฏิบัติงานในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน

๑. การเจ็บป่วยฉุกเฉินและการพบเหตุ (Detection) ๒. การแจ้งเหตุขอความช่วยเหลือ (Reporting) ๓. การออกปฏิบัติการของชุดปฏิบัติการ ฉุกเฉิน (Response) ๔. การรักษาพยาบาล ณ จุดเกิดเหตุ (On Scene care) ๕. การลำเลียงขนย้ายและให้การดูแล ระหว่างนำส่ง (Care in transit) ๖. การนำส่งสถานพยาบาล (Transfer to the definitive care)

ศูนย์สั่งการประจำจังหวัด ใกล้ที่สุดที่พร้อมรับ วงจรการปฏิบัติงาน จุดเกิดเหตุ 1669,วิทยุ ศูนย์สั่งการประจำจังหวัด Report ภายใน 8-10 นาที กู้ชีพที่ใกล้ Center Hospital นำส่งโรงพยาบาล ใกล้ที่สุดที่พร้อมรับ

อำนาจหน้าที่ตามพรบ.การแพทย์ฉุกเฉิน พศ.2551 อำนาจหน้าที่ตามพรบ.การแพทย์ฉุกเฉิน พศ.2551 1.จัดทำมาตรฐาน หลักเกณฑ์เกี่ยวกับระบบ การแพทย์ฉุกเฉิน รวมทั้งกำหนดเกณฑ์และ วิธีการปฏิบัติการฉุกเฉิน 2.จัดให้มีระบบปฏิบัติการฉุกเฉิน รวมถึงการ บริหารจัดการ และการพัฒนาระบบสื่อสาร เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อประโชน์ในการ ปฏิบัติการฉุกเฉิน 3.เป็นศูนย์กลางประสานกับหน่วยงานภาครัฐ และเอกชน ทั้งในและต่างประเทศที่ดำเนินการ เกี่ยวกับการแพทย์ฉุกเฉิน 4.ประสาน ติดตาม ประเมินผล การปฏิบัติการ ฉุกเฉิน

สพฉ. และ JICA กำหนดลงนามร่วม 19 กพ. 2559 the Proposed Technical Cooperation Project Overall Goal ASEAN and Japan collaboration mechanism on disaster health management . Project Period 3 years Project Purpose 1. Coordination platform on disaster health management is set up. 2. Framework of regional collaboration practices is developed. 3. Tools for effective regional collaboration on disaster health management are developed. 4. Progress and outcomes of the Project are widely shared and disseminated. 5. Capacity on disaster health management strengthened in each AMS สพฉ. และ JICA กำหนดลงนามร่วม 19 กพ. 2559

สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติร่วมกับประเทศญี่ปุ่น โครงการThe Project for Strengthening the ASEAN Regional Capacity on Disaster Health Management (ARCH Project ) เป้าหมายสำคัญภายใน 3 ปี 1. การสร้างระบบประสานงานระหว่างประเทศ เมื่อเกิดเหตุภัยพิบัติจะสามารถประสานงานกัน อย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพมากขึ้น 2. ส่งเสริมให้แต่ละประเทศมีทีมชุดปฏิบัติการทาง การแพทย์ในภาวะภัยพิบัติที่มีความชำนาญ สามารถออกไปปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

วิธีดำเนินงาน 1.การประชุมร่วม 10 ชาติ ASEAN และญี่ปุ่น อย่างน้อยปีละ ครั้ง 2.การฝึกซ้อมแผนภัยพิบัติร่วมกันปีละครั้ง 3.การจัดทำร่างมาตรฐานต่างๆที่เกี่ยวกับการบริหารจัดการภัยพิบัติ ทางการแพทย์และสาธารณสุขของภูมิภาค 4.การจัดทำฐานข้อมูลของทีมชุดปฏิบัติการทางการแพทย์ในภาวะภัย พิบัติ (DMAT) ของประเทศสมาชิก 5.การจัดทำโครงข่ายระบบประเมินความต้องการทางการแพทย์และ สาธารณสุขในภาวะภัยพิบัติจากพื้นที่ประสบภัย ในภูมิภาค 6.การนำเสนอผลการดำเนินงานในเวทีวิชาการระดับนานาชาติ เช่น JADM, APCDM และ WADEM 7.การจัดฝึกอบรมด้านระบบการแพทย์ฉุกเฉินและทีมชุดปฏิบัติการ ทางการแพทย์ให้แก่ประเทศสมาชิก

ผลลัพธ์ที่คาดหวัง 1. เกิดกลไกในการประสานความร่วมมือระหว่างกัน ใน ด้านการจัดการภัยพิบัติทางการแพทย์และสาธารณสุข 2. มีแนวทางในการปฏิบัติการทางการแพทย์และ สาธารณสุขร่วมกัน ในกรณีภัยพิบัติ (SOP) 3. มีมาตรฐานการปฏิบัติการและมาตรฐานทีมช่วยเหลือ ทางการแพทย์ในภาวะภัยพิบัติของอาเซียน (SOP, Collaboration Tools and Minimum Requirement) 4. มีระบบประเมินความต้องการด้านการแพทย์และ สาธารณสุขในพื้นที่ประสบภัย (Health Need Assessment) 5. มีเครือข่ายวิชาการด้านระบบการแพทย์ฉุกเฉินและการ จัดการภัยพิบัติทางการแพทย์และสาธารณสุข 6. มีการพัฒนาศักยภาพด้านการแพทย์ฉุกเฉินและการ จัดการภัยพิบัติทางการแพทย์และสาธารณสุขให้แก่ประเทศ สมาชิก

สิ่งที่ประเทศไทยจะได้รับ 1. ประเทศไทยจะมีบทบาทเป็นผู้นำในภูมิภาคอาเซียนในด้าน ระบบการแพทย์ฉุกเฉินและการจัดการภัยพิบัติทางการแพทย์ และสาธารณสุข 2. ประเทศไทยจะสามารถพัฒนาให้เป็นศูนย์ฝึกอบรมด้าน ระบบการแพทย์ฉุกเฉินและการจัดการภัยพิบัติทางการแพทย์ และสาธารณสุขของอาเซียน 3. ประเทศไทยมีโอกาสจะเป็นศูนย์ประสานปฏิบัติการด้าน การแพทย์ในภาวะภัยพิบัติของอาเซียน4. บุคลากรด้าน การแพทย์และสาธารณสุขของไทยจะได้รับการพัฒนาความรู้ และทักษะในการบริหารจัดการและการปฏิบัติการทางการแพทย์ ฉุกเฉินในภาวะภัยพิบัติ 5. ภาคส่วนการแพทย์และสาธารณสุขของไทยจะมี ความสามารถตอบสนองภัยพิบัติได้ดีขึ้น 6. ผู้ประสบภัยจะได้รับการช่วยเหลือทางการแพทย์และการ ดูแลรักษาที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น

เป้าหมายด้านการแพทย์ฉุกเฉิน ในสถานการณ์เกิดภัยพิบัติ ให้การช่วยเหลือผู้ประสบภัยให้รอด ชีวิตให้ได้มากที่สุด นำส่งผู้บาดเจ็บไป โรงพยาบาลที่ได้มาตรฐาน จนพ้น ภาวะวิกฤต ต้องไม่มีผู้บาดเจ็บ หรือเสียชีวิตเพิ่ม จากผู้ที่ประสบเหตุเดิม

สวัสดี