การวางตำแหน่งของ สปสช.ในยุคของการเปลี่ยนแปลง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กองก่อสร้างโครงการย่อย กองก่อสร้างโครงการกลาง กองก่อสร้างโครงการใหญ่
Advertisements

ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
แนวทางการบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2558
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
1. 2 วาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ วาระที่ 2 รับรองรายงานการประชุมครั้งที่ 2/2552 เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2552 วาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ.
อำนาจเจริญ - ว่าง- - ว่าง- - ว่าง - -ว่าง -
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
การส่งเสริมศักยภาพ การคุ้มครอง พิทักษ์สิทธิประชาชนในแต่ละ กลุ่มเป้าหมาย โดยการกำหนด มาตรการ กลไก ส่งเสริมสนับสนุน ภาครัฐและเอกชนในการดำเนินการ ตามนโยบายและมาตรการที่กำหนด.
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
๑ ทศวรรษของ สถาบัน. ๑ ) ด้านการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนา บุคลากรด้านการพัฒนามนุษย์ ๒ ) ผลิตและเผยแพร่ความรู้ด้านการ พัฒนามนุษย์ ๓ ) บริการสาธิตและวิจัยโดยศูนย์พัฒนา.
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
การประชุมแนวทางการพัฒนา กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น ปี 2556 วันที่ 30 มกราคม 2556 เวลา น. ณ ห้องประชุมสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
ข้อมูลทั่วไป จังหวัดศสม.รพสต.กองทุน สุขภาพตำบล สุขศาลา/ ศสมช. (ผ่าน3หมวด) อสม. ร้อยเอ็ด ,887 ขอนแก่น ,600 มหาสารคาม ,524.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
เงินโอนตามผลงานการบำบัดระบบสมัครใจและระบบบังคับบำบัดแบบไม่ควบคุมตัว (ปีงบประมาณ2558) สถานบริการปี 2558ปี 2559รวม (บาท) 1.รพ.พระจอมเกล้า17,50027,50045,000.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
สงกรานต์ ๒๕๕๗. ร่วมสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัย สงกรานต์ ทั่วไทยไร้อุบัติเหตุ  จะร่วมสร้างวัฒนธรรมความ ปลอดภัยกันอย่างไร  จะทำสงกรานต์ทั่วไทยไร้อุบัติเหตุ
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
เทศบาลเมืองวังน้ำเย็น อำเภอวังน้ำเย็น จังหวัดสระแก้ว
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
โครงการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุ
การบริหารการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2562
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
โครงการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุ
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
การขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพ แบบบูรณาการ เขตสุขภาพที่ 6
วันที่ ๒๔-๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๙ ณ โรงแรมพูลแมน จังหวัดขอนแก่น
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
กลไกการขับเคลื่อนและแผนการใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์และการใช้ค่ากลาง
รศ. ทวีศักดิ์ สูทกวาทิน สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
นวัตกรรมสังคม ก้าวสู่ Thailand 4.0.
การประเมินศักยภาพชุมชน ด้วย... ค่ากลางที่คาดหวัง
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
การสนับสนุน การบูรณาการ ค่ากลาง จังหวัดเชียงใหม่
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
อสม กับ การพัฒนาสุขภาพในระดับท้องถิ่น ชุมชน
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวางตำแหน่งของ สปสช.ในยุคของการเปลี่ยนแปลง กระจายอำนาจ ประชารัฐ ปฏิรูป

ระบบสาธารณสุขกับบทบาทองค์กร ระบบสาธารณสุขอยู่ในยุคของการเปลี่ยนแปลงภายใต้นโยบายประชารัฐ การปฏิรูป การกระจายอำนาจซึ่งนับวันภาคประชาชน รวมทั้งท้องถิ่นจะมีบทบาทมากขึ้น องค์กรสาธารณสุข (รวมทั้ง สปสช.) ซึ่งเดิมเคยผูกขาดงานอยู่ ก็ต้องปรับบทบาท ตลอดจนตำแหน่งแห่งที่ของตนในบริบทใหม่ให้ได้ กล่าวอีกนัยหนึ่งคือ ต้องแข่งขันกับตัวเองเพื่อความอยู่รอด สิ่งที่ตามมาจากการเปลี่ยนแปลงของ (1) ทัศนะ (2) ระบบสาธารณสุข คือความสับสน เช่น ความสับสนในบทบาทหน้าที่ รวมทั้งกระบวนการ หรือในบางครั้งเกิดการหยุดชะงักของงานอย่างที่ L.M.Applegate : Harvard Business School เรียกว่าเป็น “การเปลี่ยนแปลงอย่างถอนรากถอนโคน” (Disruptive Change)

ระบบสาธารณสุขกับบทบาทองค์กร ยุคของการเปลี่ยนแปลงคือโอกาสสำหรับผู้ที่มีความคิดก้าวหน้าที่จะนำเสนอความคิดใหม่ๆ หรือ นวัตกรรม ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของกระบวนการ ผลผลิต รูปแบบบริการหรือวิธีบริหารจัดการ ซึ่งอาจจะเปลี่ยนโฉมหน้าของงานสาธารณสุขรวมทั้งบทบาทของสังคม และชุมชนในการพัฒนาสุขภาพไปอย่างสิ้นเชิง นวัตกรรมเกิดมาจากความคิดสร้างสรรค์ ผู้บริหารที่ประสบความสำเร็จจะใช้เวลาบางส่วนสำหรับ การดู ฟัง แลกเปลี่ยน วิเคราะห์ สิ่งที่เกิดขึ้นรอบตัวทั้งในและนอกองค์กร จะไม่หมกมุ่นอยู่กับการแก้ปัญหาเล็กน้อยประจำวันหรือการทำงานประจำจนไม่มีเวลาสำหรับสิ่งที่สำคัญกว่า ผู้บริหารที่เก่งจะสามารถมองเห็นแนวโน้มก่อนที่โอกาสจะมาถึง และจะทำงานเพื่อให้โอกาสเหล่านั้นเกิดเป็นความจริง เขาเหล่านั้นจะมองหารูปแบบการบริหารจัดการ กระบวนการใหม่ๆที่อาจจะเกิดขึ้นแล้วในที่ต่างๆหรือแม้แต่ที่ยังเป็นเพียงความคิดอยู่ แล้วดูว่าจะสนับสนุน ส่งเสริม หรือใช้ประโยชน์ได้อย่างไร

ระบบสาธารณสุขกับบทบาทองค์กร สปสช. ควรวางตำแหน่ง (Positioning) ในระบบสาธารณสุขที่ชัดเจน โดยเพิ่มน้ำหนักจากมิติเดิมในฐานะผู้ซื้อบริการทางการแพทย์ (Purchaser) ให้เป็นผู้พัฒนา-สร้างนวัตกรรม (Developer-Innovator) ร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และประชาชน เพื่อส่งเสริม เติมเต็มนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข ด้านการพัฒนาสุขภาพ ทั้งนี้โดยเริ่มต้นจากโครงการความร่วมมือที่เห็นชอบร่วมกับกระทรวงสาธารณสุขแล้ว (LTC program)

เครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ (DHS) ภาคีต่างๆในเครือข่ายสุขภาพอำเภอมี เอกภาพ สปสช. (ผ่านกองทุนฯตำกบล) บทบาทเดิม บทบาทใหม่ ร่วมคิด/ร่วมทำ/ร่วมเรียนรู้/ร่วมสร้างนวัตกรรม (ประชารัฐ) รัฐดูแลสุขภาพ ตามความจำเป็น (Essential Care) ชุมชนบริหารจัดการสุขภาพด้วยตนเอง (Self-admin)

ความร่วมมือในโครงการ LTC

ควรทำอะไรกับคนกลุ่มนี้? (ราคาของการละเว้นไม่ปฏิบัติสูง) การจำแนกผู้สูงอายุตามศักยภาพ โดยกรมอนามัย ( Barthel Activities of Daily Living – ADL) ควรทำอะไรกับคนกลุ่มนี้? (ราคาของการละเว้นไม่ปฏิบัติสูง) โครงการ LTC โดยทีมหมอครอบตรัว

ประเทศไทยกำลังเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ หลักการและเหตุผล ประเทศไทยกำลังเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ผลกระทบทางเศรษฐกิจ ผู้สุงอายุพ้นจากภาคการผลิตและบริการแล้วจึงไม่อยู่ในฐานะที่จะเป็นกำลังผลิตของประเทศ ผลกระทบทางสังคม ผู้สูงอายุจำนวนมากหมายถึงภาระและค่าใช้จ่ายในการดูแลที่เพิ่มขึ้นเป็นเงาตามตัว ศักยภาพ ผู้สุงอายุจำนวนมาก โดยเฉพาะผู้ที่เพิ่งเข้าสู่วัยนี้ ยังมีศักยภาพ มีพลังรวมทั้งประสบการณ์มากพอที่จะพัฒนาตนเองและสังคมต่อไปได้ ยุทธศาสตร์ รัฐต้องวางยุทธศาสตร์พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชากรกลุ่มนี้ เพื่อรักษาทรัพยากรมนุษย์ที่ทรงคุณค่าไว้ให้นานที่สุด โดยให้เป็นภาระต่อสังคมน้อยที่สุด

สร้างใหม่ให้เข้มแข็ง สปสช.สร้างความเข็มแข็งให้ 3 เสาหลัก ของการพัฒนาสุขภาพอำเภอ (DHS) สร้างใหม่ให้เข้มแข็ง

วางตำแหน่งและบทบาทของผู้สูงอายุ สปสช.สนับสนุน แกนนำสุขภาพประจำครอบครัว แนวทางเดิม สาธารณสุข สร้างบทบาทของบุคลากร สร้างเทคโนโลยีของบุคลากร สร้างแผนงานโครงการ บริการประชาชน แนวทางใหม่ สร้างบทบาทของผู้สูงอายุ สร้างกระบวนการ ของผู้สูงอายุ สร้างแผนงานโครงการ สำหรับผู้สูงอายุ อปท. / กองทุนฯตำบล / ผู้สูงอายุนักการสื่อสาร ผู้สูงอายุนักบริหาร ชมรม/องค์กรผู้สูงอายุ

การจัดการโครงการในบริบทใหม่

2 แนวคิดของการพัฒนาในปัจจุบัน เพื่อสร้างความเข้มแข็ง เพื่อสนองความต้องการ Strength-based Development Need-based Development (Process-oriented) (Output-oriented) ผสมผสาน เน้นกระบวนการ ไม่เน้นผลงาน เน้นผลงาน ไม่เน้นกระบวนการ

ประเด็นที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนาสุขภาพผู้สูงอายุ รัฐ เจ้าหน้าที่สาธารณสุข ประชา ชน ท้องถิ่น / ชมรม ผสอ. สปสช.สนับสนุน

สปสช.โดยกองทุนฯตำบลสนับสนุนการพัฒนาสุขภาพ บทบาทกระทรวงสาธารณสุข 14

สปสช.สนับสนุนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ของกลุ่มเป้าหมาย รพสต อสม ท้องถิ่น ท้องที่ สร้างกลไกส่งผ่านความสำเร็จ ( นวัตกรรมรูปแบบ ) กองทุนฯตำบล

รูปแบบการเปลี่ยนผ่านระบบจัดการสุขภาพ จากภาครัฐสู่ภาคประชาชน ปรับปรุง / สร้างสรรค์ ภาคประชาชน ควบคุม / สั่งการ

ตัวอย่างประกาศค่ากลางของจังหวัด

การบูรณาการโครงการ : กลุ่มวัยผู้สูงอายุ ต.ท่ากว้าง อ.สารภี จ.เชียงใหม่ การบูรณาการโครงการ : กลุ่มวัยผู้สูงอายุ ต.ท่ากว้าง อ.สารภี จ.เชียงใหม่ ตัวอย่าง กิจกรรมจาก SRM สุขภาพจิต โรคไม่ติดต่อ สารเสพติด พฤติกรรม ชุดงาน/ค่าใช้จ่าย 1.การพัฒนา/บริการ กลุ่มเป้าหมาย ดูแลผู้สูงอายุระยะยาว ทำคลินิก DPAC ทำคลินิก เลิกสุรา บุหรี่ สร้างเสริมวามสุข 5 มิติ การพัฒนาระบบ บริการปฐมภูมิ (บาท) 2. การเฝ้าระวัง/ คัด กรองโดยประชาชน -สำรวจ 2Q ADL วัดความดัน เจาะน้ำตาลในเลือด สารพิษในเลือด ทดสอบนิโคติน ทำAUDIT -ชั่งนน. ส่วนสูง หาBMI รอบเอว - การพัฒนาศักยภาพ อสม. นักจัดการ สุขภาพ (บาท) 3. การดำเนิน มาตรการ ทางสังคม ปฏิบัติการชมรมสายใย น้ำใจท่ากว้าง สร้างบุคคลต้นแบบในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3 อ. 2 ส. งานศพ งานเศร้างดเหล้า งดเบียร์ งดน้ำอัดลม ปั่นจักรยานทุกวันอาทิตย์ แอโรบิค ทุกเย็น ผู้สูงอายุ วันอังคารและวันศุกร์ ธรรมนูญสุขภาพ ตำบล (บาท) 4. การสื่อสารเพื่อเปลี่ยน พฤติกรรม ส่งเสริมการทดลองปฏิบัติพฤติกรรมใหม่ในรูปแบบต่างๆ สร้างบุคคลต้นแบบ บุคคล เยี่ยมบ้าน บุคคลต้นแบบ การฝึกทักษะ อผส วิทยากรกระบวนการ (บาท) 5. การปรับ โครงการ ของท้องถิ่น/ตำบล โครงการสุขใจไม่คิดสั้น โครงการลดเค็มครึ่งหนึ่งคนท่ากว้างห่างไกลโรค โครงการลดละ เลิกบุหรี่ สุรา ยาเสพติด โครงการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ โรงเรียนร่มโพธิ์ โครงการรายประเด็น โครงการรายกิจกรรม

การจัดการนวัตกรรม

สปสช. โดยกองทุนฯตำบล สนับสนุน การสร้างนวัตกรรมสังคมเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 2. ภาคีเครือข่ายรัฐ/ประชาชนคิดแก้ปัญหา ทำ(Make) ปรับปรุง(Innovate) สร้างสรรค์(Create) 1.สังคมกำหนด 3. ได้ความคิดใหม่ 8. มอบอำนาจ/ ขยายเครือข่าย 9. ประชาชนมีบทบาทร่วมกับรัฐ (ประชารัฐ) 4. ปฎิรูปโครงการ ผลกระทบ ครอบคลุม ยั่งยืน 5. นวัตกรรมของประชาชน โดยประชาชน เพื่อประชาชน 7. ทัศนะ/พฤติกรรมเปลี่ยน 6. แลกเปลี่ยนเรียนรู้

ทางเลือกของผู้บริหาร เห็นว่า การเปลี่ยนแปลงคือวิกฤติที่อาจจะเปลี่ยนให้เป็นโอกาสได้ จะพยายามจัดการกับการเปลี่ยนแปลงเหล่านั้น จะเห็นช่องทางและโอกาสในการสร้างนวัตกรรมเรื่องอะไร อย่างไร ที่อาจจะนำมาซึ่งความอยู่รอดและความเจริญขององค์กรในบริบทใหม่ได้ วิกฤติคือภัยคุกคาม มองการเปลี่ยนแปลงด้วยความหวาดระแวง พยายามทุกวิถีทางที่จะป้องกันองค์กรจากการเปลี่ยนแปลงนั้น ในที่สุดก็จะนำมาซึ่งความขัดแย้ง ทัศนะเช่นนี้จะทำให้พลาดโอกาสในการปรับตัว ซึ่งจะกลับเป็นผลร้ายกับองค์กรเองในภายหลัง

www.amornsrm.net ติดตามความก้าวหน้าและค้นหารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ ขอบคุณ