งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

กลไกการขับเคลื่อนและแผนการใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์และการใช้ค่ากลาง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "กลไกการขับเคลื่อนและแผนการใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์และการใช้ค่ากลาง"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 กลไกการขับเคลื่อนและแผนการใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์และการใช้ค่ากลาง
นพ.ชลทิศ อุไรฤกษ์กุล 18 มค.60 7 พ.ย.59

2 เนื้อหา ปัญหาการดำเนินงานของพื้นที่ตำบล
การเปลี่ยนจาก Issues base มาเป็น Activity base นวัตกรรมกระบวนการที่จะนำมาใช้ กลไกการขับเคลื่อน และแผนการนำ SLM,ค่ากลางมาใช้ สรุปประเด็นที่สำคัญเกี่ยวกับค่ากลาง

3 ปัญหาการดำเนินงานในพื้นที่
ปัญหาการดำเนินงานของพื้นที่ตำบล งานตัวเองมาก งานคนอื่นก็มาก (ตำบลบูรณาการ ,ตำบล LTC ,ตำบลบูรณาการ 5 กลุ่มวัยและอนามัย สวล, อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง อำเภออนามัยการเจริญพันธ์ ,DHS) ขาดการบูรณาการ โดยโครงการลงมาเป็นเรื่องๆ เช่น ไข้เลือดออก อุบัติเหตุ NCD หรือ Issues base โดยพื้นที่นั้นนำประเด็นปัญหานั้นมาแตกเป็นกิจกรรมแล้วดำเนินการกิจกรรม (Activity base) ส่งผลให้เกิดการแยกเงิน แยกกิจกรรม กันทำ ถ้ากิจกรรมเดียวกัน ทำพร้อมกัน จะประหยัดทั้งงประมาณและเวลา ความคิดเรื่องสุขภาพว่าเป็นของใคร (ประชาชน ,จนท.สธ.,รัฐ,อปท,ประชาสังคม)

4 การเปลี่ยนจาก Issue base มาเป็น Activity base
Issues เฝ้าระวัง โดยชุมชน สื่อสารเพื่อปรับพฤติกรรม มาตรการสังคม การปรับแผนงานโครงการ พัฒนาการเด็ก / เด็กอ้วน เตี้ย IQ วัยรุ่นตั้งครรภ์ ผู้ใหญ่อ้วน NCD ผู้สูงอายุอมโรค อยู่ในภาวะพึ่งพิง ปัญหาขยะ โลกร้อน

5 นวัตกรรมกระบวนการที่จะเปลี่ยน Issues base มาเป็น Activity base
สมัยแรก (10 ปีที่แล้ว )แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ (SRM) และฉบับปฏิบัติการ (SLM) ค่ากลางหรืองานของกิจกรรม ที่พื้นที่ส่วนใหญ่ (65%) ที่ประสบความสำเร็จทำ การวิจัยดำเนินการ (Operation Research) ในพื้นที่ภาคเหนือ พบสรุปได้ว่ากิจกรรมสำคัญสำหรับพื้นที่ได้แก่ การเฝ้าระวังโดยชุมชน การสื่อสารเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การกำหนดมาตรการทางสังคม การปรับแผนงานโครงการ กิจกรรมจะระบุเป็นคำนาม (Noun) ส่วนงานจะระบุเป็นคำกริยา (Verb)

6 ความแตกต่างระหว่างกิจกรรมกับงาน
งาน (Verb)  กิจกรรม (Noun) งาน 1 งาน 2 งาน 3 งาน 4 การเฝ้าระวังโดยชุมชน สำรวจกลุ่มเสี่ยงโดย อสม การสือสารเพื่อปรับพฤติกรรม ประกาศ คำสัญญา มาตรการทางสังคม ทำประชาคม การปรับแผนงาน/โครงการ ประเมินแผนงานเทียบกับค่ากลาง

7 ต้องทำอะไร (งาน) ถึงจะเกิดการการสื่อสารเพื่อ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ประชาชน เข้าถึง (ข้อมูล ,ข่าวสาร,ความรู้) ประชาชน เข้าใจ ข้อมูล ข่าวสาร ความรู้ ที่ได้รับ) เกิดการแลกเปลี่ยน (ค้นเพิ่ม สอบถาม แลกเปลี่ยน) ตัดสินใจ (กำหนดทางเลือก และตัดสินใจเลือกทางเลือก) เปลี่ยนพฤติกรรม บอกต่อ (ในทางบวกถ้าได้ผล หรือ ในทางลบถ้าไม่ได้ผล)

8 ต้องทำอะไร (งาน) ถึงจะเกิดกิจกรรม มาตรการทางสังคม
ชุมชนเข้าถึง และเข้าใจข้อมูล ข่าวสาร และความรู้ จนเกิดอารมณ์ร่วมหรือความสนใจ ร่วมในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง การแลกเปลี่ยนเพื่อที่จะจัดการเรื่องที่สนใจร่วมกัน เกิดความมุ่งมั่นที่จะทำอะไรบางอย่างร่วมกัน เพื่อการอยู่ร่วมกัน หรือเพื่อประโยชน์สาธารณะ หรือ เพื่อแก้ปัญหาร่วมกัน ความมุ่งมั่นได้พัฒนามากขึ้นจนเกิดสิ่งต่างๆ ตามลำดับ ดังนี้ ข้อตกลงร่วมกัน ข้อตกลงที่เป็นลายลักษณ์อักษร ข้อตกลงที่เกิดผลในทางปฏิบัติ มีการบังคับใช้ มีการให้รางวัล หรือ ลงโทษ

9 ต้องทำอะไร(งาน) ถึงเกิดกิจกรรมการเฝ้าระวังโดยชุมชน
ชุมชนได้เข้าถึง เข้าใจ ข้อมูล ข่าวสาร และความรู้ในเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่จะส่งผลต่อสุขภาพทั้งทางบวกหรือทางลบ ชุมชนเปลี่ยนวิธีคิดว่า ไม่ใช่เป็นหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ แต่เป็นหน้าที่ของทุกคนที่เกี่ยวข้อง ชุมชนวางมาตรการในการเฝ้าระวัง เรื่องที่สนใจร่วมกัน ชุมชนกำหนดมาตรการในการจัดการ โดยแยกเป็นกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง เมื่อเฝ้าระวังพบเหตุการณ์ดังกล่าวแยกตามกลุ่ม

10 ต้องทำอะไร(งาน) ถึงเกิดกิจกรรมการปรับแผนงาน/โครงการ
การปรับเปลี่ยนวิธีคิดและวิธีการทำงาน เปลี่ยนจาก Issues base เป็น Activity base เปลี่ยนจากทำคนเดียวมาเป็นทำเป็นทีม การเปลี่ยนวิธีการทำแผน การบูรณาการการทำงานร่วมกัน การแลกเปลี่ยนเรียนรู้

11 สรุปแนวคิดของค่ากลาง
ปัญหาของพื้นที่เนื่องจากส่วนกลาง/จังหวัด ผลักดันแผนพัฒนาหรือแก้ปัญหาสุขภาพในรูปของโครงการที่เป็น Issues base ทำให้ issues ต่างๆที่ลงมา ต่างแผน งาน/เงิน/เวลา ขาดการบูรณาการ ได้มีการวิจัยปฏิบัติการเพื่อหา กิจกรรมที่สำคัญ (Key Activities) ได้แก่ เฝ้าระวัง สื่อสาร มาตรการสังคม ปรับโครงการ ถ้าหางานที่พื้นที่ส่วนใหญ่ที่ประสบผลสำเร็จทำ หรือเรียกกว่าค่ากลาง แล้วประกาศให้พื้นที่อื่นๆทำงานนั้น ย่อมทำให้พื้นที่นั้นประสบความสำเร็จไปด้วย โดยไม่ต้องเสียเวลาลองผิดลองถูก การขยายผลให้มีการใช้ค่ากลางครอบคลุมทั้งพื้นที่จะส่งผลให้เกิดการบูรณาการในพื้นที่ เพราะบูรณาการทุก issues ลงมาสู่การทำงานที่สำคัญใน 4 กิจกรรมหลัก และทำให้ประหยัดเงิน และเวลา

12 กลไกการขับเคลื่อน กรมวิชการ/ศูนย์เขต สสจ
เข้าอบรม Super trainer เพื่อมาอบรมครู ก.ระดับจังหวัด จัดทำค่ากลางความสำเร็จของเขต ส่งให้จังหวัด สสจ.และครู ก.นำค่ากลางความสำเร็จของเขตมาจัดทำค่ากลางที่คาดหวังของจังหวัด (5 กลุ่มวัย 1 สวล) อบรมครู ข โดยครู ก.1 ในพื้นที่เป้าหมาย กรมวิชาการสนับสนุนวิชาการ เปิดตัวตำบล นำร่องที่จะดำเนินการ ตำบลบูรณาการ 5 กลุ่มวัย/สวล โดยใช้ค่ากลาง

13 สรุประเด็นที่สำคัญเกี่ยวกับค่ากลาง

14 ใครๆ ในที่นี้คือพื้นที่ที่ประสบความสำเร็จในการดำเนินงาน

15

16

17

18

19

20


ดาวน์โหลด ppt กลไกการขับเคลื่อนและแผนการใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์และการใช้ค่ากลาง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google