วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการ พลาญชัยร้อยเอ็ด

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการนำเข้าและการส่งออกของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาการตลาด โดยใช้แบบฝึกด้วยเทคนิคการเขียนแผนผังความคิด.
Advertisements

ผู้เสนอ นางประภัสสร แก้วประสาน สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
ผู้วิจัย อาจารย์เรวดี นาวินวิจิต
การใช้ชุดการสอนวิชาบัญชีเบื้องต้น 2 เรื่องการปรับปรุงบัญชี ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาพณิชยการ และการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
การสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศของ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสม นางสาวพัชรี นาคทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
ผู้วิจัย : นายสุพัฒน์ กลัดสมบุญ
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษ โดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Brain- Based Learning ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3/1 สาขาการขาย.
ผู้วิจัย นางสาวมัตติกา ขวัญใจ วิทยาลัยเทคโนโลยีพาณิชยการลานนา
นางสาวปุณณภา ฉัตรเดชาพล
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
ชื่อเรื่องวิจัย การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความคงทนในการจำต่อวิชา ฮาร์ดแวร์และยูทิลิตี้เบื้องต้น ระหว่างการเรียนแบบปกติและการเรียนรู้ โดยใช้แบบฝึกหัดแผนที่ความคิด.
ผู้วิจัย อาจารอุบลรัตน์ น้อยสำแดง
สุนันทา โสรณสุทธิ์ ผู้วิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชย การ.

ชื่อเรื่อง ศึกษาการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาเศรษฐศาสตร์โดยใช้แบบฝึกทักษะการท่องจำเบื้องต้นของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 ผู้วิจัย.
นางลัดดาวรรณ คงพูล อาจารย์ประจำสาขาวิชาสามัญและพื้นฐาน

ชื่อเรื่องวิจัย: พัฒนาการของการอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษ
การพัฒนาทักษะการคำนวณเรื่องระบบเลขฐาน โดยใช้แบบฝึกทักษะของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นสูง ชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีพาณิชยการลานนา.
ชื่อเรื่องวิจัย การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้แบบฝึกวิชาภาษาอังกฤษ เพื่อการสื่อสารในงานอาชีพเรื่อง Present Simple.
ชื่อเรื่อง ผลการใช้เทคนิคการเรียนแบบร่วมมือที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ของการเรียนวิชางานวัดละเอียดช่างยนต์ของนักศึกษาชั้น ปวช.2 สาขางานยานยนต์ โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้หนังสืออ่านนอกเวลา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่1 แผนกเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
อาจารย์อัครชัย ปัญญาคม
การพัฒนาบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรมสำเร็จรูปในงานอาชีพ
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
การใช้แบบฝึกทักษะเกม Spelling Bee เพื่อพัฒนาความสามารถในการสะกด คำศัพท์ภาษาอังกฤษของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 (ปวช.1) สาขา เทคนิคคอมพิวเตอร์

การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ ความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
สมเกียรติ์ คุณหอม วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
นายหิรัญญพงษ์ โอวัฒนา โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
โดย อาจารย์ วิลาวัณย์ ลีลารัตน์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
นางสุภาภรณ์ หงษ์ สุวรรณ วิทยาลัย อาชีวศึกษาดุสิต พณิชยการ นำเสนอ ประเภทที่ 1 วิจัยการเรียนการ สอน ( วิจัยชั้นเรียน ) นำเสนอ การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน.
การพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบ รายบุคคลทางการคำนวณและ การใช้สูตรฟังชั่นอย่างง่ายโดย โปรแกรม Microsoft Excel ในวิชาคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ เพื่องานอาชีพ ผู้วิจัย.
ประชิด เกิดมาก ผู้วิจัย. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาสภาพการจัดการเรียน การสอนด้วยจิกซอว์ 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนก่อนเรียน.
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชาการจัดเก็บเอกสารของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 ที่ใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบ ร่วมมือ เทคนิคจิ๊กซอว์กับการสอนแบบปกติ
วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษร บริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษร บริหารธุรกิจ จังหวัดระยอง จังหวัดระยอง ชื่อผู้วิจัย / สถาบัน นายวัชรพล พรมโคตร.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาการใช้โปรแกรมตาราง งานโดยวิธีการเรียนรู้แบบเพื่อน ช่วยเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้น ปีที่
นางจินดาพร พูล สวัสดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ ชื่อเรื่องวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาการจัดการ สำนักงาน ของ นักศึกษาระดับ ปวส. 1 เรื่อง.
การพัฒนาความรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียนโดย การชมนิทรรศการในงาน BBC’s Educa Talent Contest 2014 ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 สาขางานภาษาต่างประเทศ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น โดยใช้รูปแบบการ
วัตถุประสงค์การวิจัย
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลศรีย่าน
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
ทำการวิจัยโดย นางรุ่งนภา ทินช่วย
ชื่อผู้วิจัย นางสาวศุวรีย์ จำปามูล
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาความสามารถด้านการพูดนำเสนอโปรแกรมท่องเที่ยวโดยใช้การสอนแบบบทบาทสมมุติ วิชาการตลาดเพื่อการท่องเที่ยวของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรชั้นปีที่
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีการจัดการเพชรเกษม
นางสาวสุภาวดี นุกุลเสาวลักษณ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ 2559
การนำเสนอผลงานการวิจัย
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย ศุภลักษณ์ พูลเกษม วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ 8
นางอัชฌา เพ็งพินิจ นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
การนำเสนอผลงานวิจัยและนวัตกรรมสื่อการสอนทางอาชีวศึกษา ครั้งที่ 8
ว่าที่ร้อยตรีศิริพงษ์ สายหยุด ผู้วิจัย
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ 6
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการพัฒนาการจัดการเรียนรู้
วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชการ
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ผู้วิจัย นายณัฐภูมิ จาระธรรม วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่
โดย นางสาววิมลรัตน์ ยอดคำแปง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการ พลาญชัยร้อยเอ็ด ศึกษาปัญหาและแนวทางพัฒนาการอ่านสารในชีวิตประจำวัน วิชาภาษาไทยพื้นฐาน โดยใช้แบบฝึกทักษะ ของนักศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 ปีการศึกษา 2558 ผู้วิจัย วิไลวรรณ อนันตะบุศย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการ พลาญชัยร้อยเอ็ด

วัตถุประสงค์การวิจัย 1. เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านสารในชีวิตประจำวัน ในวิชาภาษาไทยพื้นฐานโดยใช้แบบฝึกทักษะ ของ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปีที่ 1 2. เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องการ พัฒนาทักษะการอ่านสารในชีวิตประจำวัน 3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาที่ใช้แบบ ฝึกทักษะ

กรอบแนวคิดในการวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องการอ่านสารในชีวิตประจำวัน การจัดกิจกรรมการเรียนด้วย แบบฝึกทักษะการอ่านสาร ในชีวิตประจำวัน ผลความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการเรียนด้วยแบบฝึกทักษะการอ่านสารในชีวิตประจำวัน

ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 ห้อง 1 วิทยาลัย เทคโนโลยีพณิชยการพลาญชัยร้อยเอ็ด จำนวน 8 คน ที่ กำลังศึกษาอยู่ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558

วิธีดำเนินการวิจัยและเก็บรวบรวมข้อมูล ในการดำเนินการวิจัยและเก็บรวบรวมข้อมูล มีขั้นตอน ดังนี้ 1. ทำการเลือกกลุ่มตัวอย่าง จากนักศึกษาที่กำลัง เรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 ด้วยวิธีการสุ่ม แบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling)โดยใช้ห้องเรียนเป็น หน่วยในการสุ่มได้นักศึกษาห้อง 1/1 จำนวน 8 คน เป็นกลุ่ม ตัวอย่าง 2. ทำการทดสอบวัดสัมฤทธิ์ก่อนเรียน โดยให้ นักศึกษากลุ่มตัวอย่างทำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ก่อน เรียน เรื่องการอ่านสารในชีวิตประจำวัน และรวบรวมข้อมูล

3. ผู้สอน ดำเนินการสอนตามแผนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 2 สัปดาห์ โดยให้นักศึกษากลุ่มตัวอย่าง ทั้ง 8 คน เรียนและให้ทำแบบฝึกทักษะการอ่านสารในชีวิตประจำวัน เป็นเวลา 4 คาบ คาบละ 1 ชั่วโมง 4. เมื่อนักศึกษาเรียนจบแล้ว ทำการทดสอบวัด ผลสัมฤทธิ์หลังเรียนทันที โดยให้ทำแบบทดสอบวัดผล สัมฤทธิ์หลังเรียนด้วยข้อสอบชุดเดียวกันกับก่อนเรียน แล้ว เก็บข้อมูลเพื่อนำไปวิเคราะห์ 5. ทำการวัดความพึงพอใจของนักศึกษากลุ่มตัวอย่าง ที่ใช้แบบฝึกทักษะการอ่านสารในชีวิตประจำวัน 6. นำข้อมูลที่ได้วิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วย โปรแกรม Excel

ภาพหลักฐานการสอน/การเก็บข้อมูล

ผลวิเคราะห์ข้อมูล 1. ประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะการอ่านสารใน ชีวิตประจำวันเป็นไปตาม ค่าแบบทดสอบก่อนเรียน ได้เท่ากับ 81.13 และ แบบทดสอบหลังเรียน ได้เท่ากับ 87.00 2. ค่าเฉลี่ยก่อนเรียนได้เท่ากับ 29.30 หลังเรียน ได้เท่ากับ 35.15 ผลการวิเคราะห์พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หลัง เรียนด้วยการใช้แบบฝึกทักษะสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมี นัยสำคัญในสถิตที่ระดับ .05

สรุปผลการวิจัย 1. การสร้างและการหาประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะเรื่องการ อ่านสารในชีวิตประจำวัน ในวิชาภาษาไทยพื้นฐาน พบว่าแบบ ฝึกทักษะมีความเหมาะสม ซึ่งมีค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) อยู่ระหว่าง 0.60 – 1.00 และจากการนำแบบฝึกทักษะเรื่องการอ่านสาร ในชีวิตประจำวัน ไปทดลองใช้กับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 จำนวน 8 คน ที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ พบว่าแบบฝึกทักษะมีประสิทธิภาพ 81.13/87.00 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 80/80 2. การทดลองสอนโดยใช้แบบฝึกทักษะเรื่องการอ่านสารใน ชีวิตประจำวัน พบว่า 2.1 นักศึกษามีคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียนเท่ากับ 29.30 คะแนนเฉลี่ยหลังเรียน เท่ากับ 35.15 และเมื่อเปรียบเทียบความ แตกต่างของค่าเฉลี่ย พบว่า นักศึกษามีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 2.2 ความพึงพอใจอยู่ในระดับมากโดยมีค่าเฉลี่ย (X) เท่ากับ 4.17 มีค่า S.D. เท่ากับ 0.66

ขอขอบคุณ ผู้อำนวยการตะวัน ดอกบัว วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการพลาญชัย ร้อยเอ็ด ผู้ช่วยร่วมการวิจัยและเสนอแนะในการทำวิจัยให้สำเร็จให้ลุล่วงในครั้งนี้ ผู้อำนวยการนธภร แจ่มใส โรงเรียนอาเซียนศึกษา ที่ให้คำแนะนำทำให้การทำวิจัยในครั้งนี้ สำเร็จไปได้ด้วยดี