นโยบายและแนวทางการดำเนินงาน ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
Advertisements

ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
สถานการณ์ส้วมสาธารณะในกรุงเทพมหานคร
แนวทางการบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2558
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
การส่งเสริมศักยภาพ การคุ้มครอง พิทักษ์สิทธิประชาชนในแต่ละ กลุ่มเป้าหมาย โดยการกำหนด มาตรการ กลไก ส่งเสริมสนับสนุน ภาครัฐและเอกชนในการดำเนินการ ตามนโยบายและมาตรการที่กำหนด.
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
เป็นเจ้าภาพหลัก 2 ประเด็น เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
สกลนครโมเดล.
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพ ด้านพัฒนาระบบการคุ้มครองผู้บริโภค
แผนงานย่อย “น้ำมันทอดซ้ำเสื่อมสภาพ”
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
๒ ปี...ก้าวย่างของการพัฒนา
ศูนย์บริหารกฎหมาย สาธารณสุข แนวทางการสนับสนุน การดำเนินงานคณะอนุกรรมการ สาธารณสุขจังหวัด (อสธจ.)
วิสัยทัศน์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ สิ่งสำคัญที่ต้องทำ ให้บรรลุ เพื่อตอบสนอง วิสัยทัศน์ เป้าประสง ค์ หลัก ประสิทธิภ าพ ผลสำเร็จ สูงสุดของ องค์กรซึ่ง ประชาชน.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จของการรายงานข้อมูลให้มีความ ครอบคลุม ถูกต้อง และทันสมัย ปีงบประมาณ กองแผนงาน -
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ชมรมจริยธรรมศูนย์ฯ๗.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
คณะที่ 4 พัฒนาระบบสนับสนุนด้านสุขภาพ
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ส้วมสะอาดในร้านอาหาร
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
ทิศทางการดำเนินงาน สุขาภิบาลอาหารและคุณภาพน้ำบริโภค ปี 2557
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
แนวทางการดำเนินงานเพื่อผู้สูงอายุ
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
โครงการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ ปีงบประมาณ 2551
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
Model ผลที่คาดหวัง วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดหลัก
ข้อเสนอ การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม
การตรวจราชการ “ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน”
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
และ อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี ปี 2557
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
EHA กรมอนามัย การดำเนินงานของกลุ่ม อวล + เลขานุการอสธจ. การคุ้มครองสิทธิทางสุขภาพของประชาชนด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ให้ข้อมูล ให้ความรู้ ปกป้องสิทธิ
นายแพทย์สุวัช เซียศิริวัฒนา 19 พฤษภาคม 2552 โรงแรมอมารีแอร์พอร์ต
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
“ความร่วมมือในการขับเคลื่อนงาน คสจ. และ พชอ.”
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
การดำเนินงาน GREEN & CLEAN Hospital จังหวัดน่าน ปีงบประมาณ 2561
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
จังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี ปี 54
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นโยบายและแนวทางการดำเนินงาน ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม พีระพัฒน์ ธีระวรรธนะสิริ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ กลุ่มพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ศูนย์อนามัยที่ 10 เชียงใหม่ Office 053 272 256 , 053 276 856 ต่อ 606 Mobile 083 572 5422 , 086 787 0051 E- mail : p.theerawattanasiri@gmail.com , t.peerabhat@hotmail.com

นโยบายและแนวทางการดำเนินงาน ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม

ทิศทางและยุทธศาสตร์การดำเนินงาน กรมอนามัย

คนไทยทุกเพศวัยสุขภาพดี เป้าหมายกรมอนามัย คนไทยทุกเพศวัยสุขภาพดี อายุ 80 ปี ยังแข็งแรง

การส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม ทุกกลุ่มวัยเพื่อคนไทย 80 ปี หญิงตั้งครรภ์ แม่ ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย (MMR IMR) 800,000 คน 0 – 5 ปี เด็กปฐมวัย พัฒนาการสมวัย 3,931,939 คน 6 – 14 ปี เด็กวัยเรียน / วัยรุ่น สัมฤทธิผลการศึกษา 9,570,455 คน อนุบาล - มัธยม 15 – 59 ปี วัยทำงาน - สุขภาพดีทำงาน มีประสิทธิภาพ รายได้เพิ่มขึ้น เพิ่ม GNP 43,091,000 คน > 60 ปี วัยสูงอายุ - ป่วยช้า ตายช้า - เพิ่ม GNP - อายุเฉลี่ย 80 ปี 9,000,000 คน People โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว - ศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่ - คลินิกเด็กดีคุณภาพ โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ สถานที่ทำงานน่าอยู่น่าทำงาน - วัดส่งเสริมสุขภาพ - โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ Place การอนามัย สิ่งแวดล้อม - Healthy Family (บ้านน่าอยู่ บ้านถูกสุขลักษณะ ครัวถูกหลักสุขาภิบาล น้ำดื่มพอเพียง ส้วมนั่งราบ) - Healthy Hospital (โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ โรงพยาบาลลดโลกร้อน) - Healthy School (ศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่ โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงอาหารได้มาตรฐาน) - Healthy Work place (สถานประกอบการถูกสุขลักษณะ ตาม พรบ.การสาธารสุข) - Healthy Cities (ชุมชนน่าอยู่ สวนสาธารณะน่ารื่นร่ม เมืองสะอาดไร้มลพิษ ตลาดน่าซื้อ ส้วมสาธารณสะอาด อาหารสะอาดรสชาติอร่อย วัดส่งเสริมสุขภาพ) ภาครัฐ / ภาคเอกชน / ภาคการเมือง / ภาคประชาชน / NGOs / อสม. / เครือข่ายชมรมสร้างสุขภาพ /องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น / องค์กรระหว่างประเทศ / ต่างประเทศ Partnership ร่วมมือภาคีเครือข่าย DHS / นสค. ออกกำลังกาย สัปดาห์ละ 3 ครั้ง ๆ ละ 30 นาที : สวนสาธารณะรื่นรมย์ อาหาร มีคุณค่าตามวัย / อาหารปลอดภัย : Clean food Good taste ตลาดสดน่าซื้อ อารมณ์ : สุขภาพจิต 3 อ. - ANC LR คุณภาพ - ป้องกันโรคธาลัสซีเมีย - ไอโอดีน / โภชนาการ - สุขภาพช่องปาก - WCC คุณภาพ - นมแม่ - ส่งเสริมพัฒนาการ - การเจริญเติบโต รูปร่าง / ส่วนสูง - สุขภาพช่องปาก - วัคซีน เด็กนักเรียนมีคุณภาพ 4 ด้าน - พัฒนาการ 4 ด้าน - IQ / EQ - การเจริญเติบโต รูปร่าง/ ส่วนสูง - สุขภาพช่องปาก - วัคซีน คลินิกวัยรุ่น (YFHS) - คลินิก DPAC - การคัดกรองเบาหวาน ความดัน / มะเร็ง - อนามัยการเจริญพันธุ์ - อาชีวอนามัย - ตรวจสุขภาพ - คลินิกผู้สูงอายุ - ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ - ผู้ดูแลผู้สูงอายุ - สุขภาพช่องปาก - คลินิก DPAC - การคัดกรองเบาหวาน / ความดัน / มะเร็ง - อนามัยการเจริญพันธุ์ - อาชีวอนามัย การส่งเสริมสุขภาพ - โครงการเข้าถึงบริการ การฝากครรภ์คุณอย่าง เท่าเทียม - การแก้ปัญหาโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก - ป้องกันโรคติดเชื้อ เอชไอวี จากแม่สู่ลูก - คัดกรองดาวซินโดม - Safe Abortion - วัยรุ่นเข้าถึงถุงยางอนามัย - สร้างกระแสการออกกำลังกาย - แก้ปัญหาการมีบุตรยาก - ฟันเทียมพระราชทาน โครงการ โครงการเมืองไทย เมืองสะอาด (ขยะ อาหาร น้ำ ส้วม สิ่งปฏิกูล)

ประเด็นสำคัญ การดำเนินงานอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี 2557 ประเด็นสำคัญ การดำเนินงานอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี 2557 การดำเนินงานภายใต้แผนยุทธศาสตร์อนามัยสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2555 – 2559) ประเด็นยุทธศาสตร์ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและตัวชี้วัดสำคัญ ส่งเสริมการดำเนินงานตาม พ.ร.บ.การสาธารณสุข พ.ศ. 2535 โครงการเมืองไทย เมืองสะอาด นโยบายสำคัญรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข (นายสรวงศ์ เทียนทอง)

1. แผนยุทธศาสตร์อนามัยสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2555–2559 1. แผนยุทธศาสตร์อนามัยสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2555–2559 7 ประเด็นงาน 1. คุณภาพอากาศ 2. น้ำ การสุขาภิบาลและสุขอนามัย 3. ขยะและของเสียอันตราย 4. สารเคมีเป็นพิษและสารอันตราย 5. การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ 6. การจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมในกรณีสาธารณภัย 7. การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ 5 ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อน 1. พัฒนาระบบบริหารจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม 2. ป้องกันและลดความเสี่ยงจากปัจจัยด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม 3. เสริมสร้างความร่วมมือระหว่างหน่วยงานภาคีเครือข่ายและการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน และประชาชนในการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม 4. ส่งเสริมบทบาท อปท. ในการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม 5. พัฒนาองค์ความรู้และเทคโนโลยีด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม

แนวทางการดำเนินงานในประเด็นเร่งด่วน ประเด็นร่วมภาคเหนืองาน ตามแผนยุทธศาสตร์สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2555–2559 ประเด็นร่วม ในพื้นที่ แนวทางการดำเนินงานในประเด็นเร่งด่วน กิจกรรม ปีงบประมาณ หน่วยงานรับผิดชอบ คุณภาพอากาศ - หมอกควัน (พื้นที่ป่า (อนุรักษ์) พื้นที่การเกษตร และการเผาขยะในชุมชน) - ให้ความรู้เรื่องผลกระทบต่อสุขภาพแก่ประชาชนในพื้นที่ (การเชื่อมโยงข้อมูลและการเผยแพร่ข้อมูล) - ผลักดันการออกกฎหมายในข้อกำหนดท้องถิ่น ภายใต้พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ - มีระบบเฝ้าระวังสุขภาพจากมลพิษทางอากาศ - มีการเผยแพร่ข้อมูลเพื่อให้ประชาชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม/วิถีชีวิต ๕๖ – ๕๙ กรมอนามัย คพ. และ กรมอนามัย

แนวทางการดำเนินงานในประเด็นเร่งด่วน 7 ประเด็นงาน ตามแผนยุทธศาสตร์สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2555–2559 ประเด็นร่วม ในพื้นที่ แนวทางการดำเนินงานในประเด็นเร่งด่วน กิจกรรม ปีงบประมาณ หน่วยงานรับผิดชอบ ขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย - ขยะมูลฝอยทั่วไป - มูลฝอยติดเชื้อ - ผลักดันมาตรการ 3Rs - ขับเคลื่อนให้มีการจัดการขยะแบบรวมศูนย์ (Cluster) ๕๖ – ๕๙ คพ.

ภาคีทำงานร่วมกัน สำนักงานสิงแวดล้อมภาค ๑ เชียงใหม่ 7 ประเด็นงาน ตามแผนยุทธศาสตร์สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2555–2559 7 ประเด็นงาน 1. คุณภาพอากาศ 2. น้ำ การสุขาภิบาลและสุขอนามัย 3. ขยะและของเสียอันตราย 4. สารเคมีเป็นพิษและสารอันตราย 5. การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ 6. การจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมใน กรณีสาธารณภัย 7. การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ สำนักงานสิงแวดล้อมภาค ๑ เชียงใหม่ สำนักงานสิงแวดล้อมภาค ๒ ลำปาง สำนักงานสิงแวดล้อมภาค ๓ พิษณุโลก สำนักงานควบคุมและป้องกันโรคที่๑๐ เชียงใหม่ ภาคีทำงานร่วมกัน

2. ประเด็นยุทธศาสตร์อนามัยสิ่งแวดล้อม 3 ยุทธศาสตร์ 1. การคุ้มครองสิทธิด้านสุขภาพของประชาชน 2. ลดความเสี่ยงด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมจากการจัดบริการ 3. พัฒนาสุขาภิบาลอย่างยั่งยืน สู่วิถีพอเพียง เป้าประสงค์ ประชาชนมีข้อมูลเพียงพอ ได้รับการเตือนภัยถูกต้อง ทันเวลา และได้รับบริการที่ได้มาตรฐานและเป็นธรรม อปท. มีการจัดบริการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ที่มีคุณภาพและมาตรฐาน ชุมชนและท้องถิ่นสามารถจัดการสุขาภิบาลได้อย่างถูกหลักวิชาการ และพึ่งตนเองได้ ประเด็นงาน พัฒนาระบบเฝ้าระวัง การสื่อสารความเสื่ยง กำกับ ติดตาม อปท. วิเคราะห์สถานการณ์อนามัยสิ่งแวดล้อม HIA พัฒนาคุณภาพของ อปท. เรื่องจัดบริการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม การใช้ประโยชน์จากของเสีย อาทิ สิ่งปฏิกูล มูลฝอย ตัวชี้วัด 1. ทุกจังหวัดมีระบบและกลไกการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมเพื่อตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน (มีทีม SERT มีแผนและซ้อมแผน สื่อสารฯ) 2. รายงานสถานการณ์อนามัยสิ่งแวดล้อม (ระดับประเทศ ระดับเขต ระดับจังหวัด) 1. ร้อยละ 40 ของ อปท. มีคุณภาพด้านบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม (อาหาร น้ำ ขยะ สิ่งปฏิกูล) 2. ทุกจังหวัดมีตลาดนัดน่าซื้อต้นแบบ 3. ร้อยละ 80 ของส้วมสาธารณะผ่าน HAS 1. ร้อยละ 80 ของขยะติดเชื้อได้รับการจัดการถูกสุขลักษณะ 2. ร้อยละ 30 ของ รพ.สธ. ได้มาตรฐานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม (อาหาร น้ำ ขยะ สิ่งปฏิกูล) 3. ศูนย์เรียนรู้ด้านสุขาภิบาลยั่งยืน 12 แห่ง

การคุ้มครองสิทธิสุขภาพของประชาชน 2.1 การคุ้มครองสิทธิด้านสุขภาพของประชาชน การคุ้มครองสิทธิสุขภาพของประชาชน พัฒนาตัวแบบ HIA ในการดำเนินงานโครงการ/กิจกรรม/กิจการที่อาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพ ก่อนเกิดเหตุ การเฝ้าระวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม เฝ้าระวังหมอกควัน เฝ้าระวังน้ำบริโภค เน้นประปาภูมิภาค ตู้น้ำหยอดเหรียญ เฝ้าระวังอาหารพร้อมบริโภค ระหว่างเกิดเหตุ หลังเกิดเหตุ การตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน การตอบโต้เหตุฉุกเฉิน การเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับเหตุฉุกเฉิน (ทีม SERT) การสื่อสารความเสี่ยง

2.2 ลดความเสี่ยงด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมจากการจัดบริการ มุ่งเน้นการแก้ไขและลดปัญหาความเสี่ยงจากการจัดบริการอาหารและคุณภาพน้ำบริโภคในสถานประกอบการด้านอาหาร ด้วยการจัดการและควบคุมป้องกันปัจจัยเสี่ยง

2.3 พัฒนาสุขาภิบาลอย่างยั่งยืน สู่วิถีพอเพียง 2.3 พัฒนาสุขาภิบาลอย่างยั่งยืน สู่วิถีพอเพียง การดำเนินงานสุขาภิบาลในโรงพยาบาลตามแนวคิด การสุขาภิบาลอย่างยั่งยืน (GREEN Hospital) G : Garbage E: Energy R: Rest Room E : Environment N : Nutrition

3. ส่งเสริมการดำเนินงานตาม พ.ร.บ.การสาธารณสุข พ.ศ. 2535 3. ส่งเสริมการดำเนินงานตาม พ.ร.บ.การสาธารณสุข พ.ศ. 2535 เพื่อคุ้มครองประชาชน ชุมชน ผู้ประกอบกิจการ ให้ได้อยู่ใน สภาวะความเป็นอยู่ที่เหมาะสมกับการดำรงชีพ ตามที่รัฐธรรมนูญกำหนด ผลักดันการพัฒนาระบบและกลไกการดำเนินงานตามกฎหมายสาธารณสุข เช่น การแต่งตั้งคณะกรรมการสาธารณสุขระดับจังหวัด ใน 30 จังหวัด ที่มีความพร้อม เพื่อให้เป็นที่ปรึกษาของ อปท. สนับสนุนและเสริมสร้างขีดความสามารถ และทักษะแก่บุคลากร อปท. ผลักดันการออกกฎหมาย เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งการดำเนินงาน ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมให้ท้องถิ่น เช่น ร่างประกาศฯ เกี่ยวกับการขน กำจัดมูลฝอยติดเชื้อในท้องถิ่น สุขลักษณะส้วมในร้านอาหาร ปั๊มน้ำมัน/ก๊าซ

ส่งเสริมการดำเนินงานตาม พ.ร.บ.การสาธารณสุข พ.ศ. 2535 เพื่อคุ้มครองประชาชน ชุมชน ผู้ประกอบกิจการ คนงาน/ผู้ปฏิบัติงาน ได้อยู่ในสภาวะความเป็นอยู่ที่เหมาะสมกับการดำรงชีพ ตามที่รัฐธรรมนูญกำหนดโดยผ่านกลไกคณะกรรมการสาธารณสุข ผลักดันให้มีการพัฒนาระบบและกลไกการดำเนินงานตามกฎหมายสาธารณสุขให้มีความชัดเจน สนับสนุนและเสริมสร้างขีดความสามารถ และทักษะแก่บุคลากร อปท.

4. โครงการเมืองไทย เมืองสะอาด (Clean Cities) ยกระดับคุณภาพการให้บริการอนามัยสิ่งแวดล้อมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้ได้มาตรฐาน ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมให้ได้มาตรฐาน สร้างความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายในการดำเนินงานอนามัยสิ่งแวดล้อม ส่งเสริมการพัฒนาระบบกฎหมายในระดับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  ส้วมสาธารณะและสิ่งปฏิกูล  อาหารสะอาด (ลดความเสี่ยงจากการบริการ)  คุณภาพน้ำดื่มได้มาตรฐาน  มูลฝอยทั่วไป มูลฝอยติดเชื้อ เมืองสะอาด

5. นโยบายสำคัญของรัฐมนตรีช่วยว่าการ กระทรวงสาธารณสุข (นายสรวงศ์ เทียนทอง) ณ วันที่ 5 สิงหาคม 2556 โครงการปั๊มน้ำมันโสภา-สุขาน่าเข้า โครงการตลาดสะอาด อาหารปลอดภัย

ข้อที่ รายละเอียดตัวชี้วัด เป้าหมาย กรมอนามัย ตัวชี้วัด ศอ. 10 Flagship 1 ร้อยละของแหล่งกำเนิดมูลฝอยติดเชื้อมีการจัดการมูลฝอยติดเชื้ออย่างถูกลักษณะ ร้อยละ 80 Flagship (1) 2 จำนวนจังหวัดที่มีระบบและกลไกการคุ้มครองสุขภาพของประชาชนด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม (สสจ.) 30 จังหวัด Flagship (6) 2.1 มีระบบรองรับการดำเนินการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรณ๊มีภาวะฉุกฉินและสาธารณภัย 2.2 มีระบบการเฝ้าระวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม 2.3 มีระบบการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพจากกิจการตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535

ข้อที่ รายละเอียดตัวชี้วัด เป้าหมาย กรมอนามัย ตัวชี้วัด ศอ. 10 Flagship & อำเภอ 80 ปี 3 ระดับอำเภอ 80 ปี 3.1 ร้อยละของส้วมสาธารณะผ่านเกณฑ์มาตรฐาน HAS ร้อยละ 80 Flagship(3) - มีส้วมสาธารณะผ่านเกณฑ์มาตรฐาน HAS อย่างน้อย 1 แห่ง   80ปี (1.1) 3.2 ตลาดนัดน่าซื้อต้นแบบ Flagship(4) - มีตลาดสดน่าซื้อระดับดี อย่างน้อย 1 แห่ง 80ปี (1.2) 3.3 มีตลาดสดน่าซื้อระดับดี อย่างน้อย 1 แห่ง 80ปี (1.3)

ข้อที่ รายละเอียดตัวชี้วัด เป้าหมาย กรมอนามัย ตัวชี้วัด ศอ. 10 4 โรงพยาบาลชุมชน ร้อยละของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขได้มาตรฐานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม 4 ด้าน ร้อยละ 30 Flagship(2) / 80ปี (2) / 4.1 โรงพยาบาลมีการจัดการมูลฝอยติดเชื้อ    HPHNQC 4.2 โรงพยาบาลมีการจัดการน้ำเสียได้มาตรฐาน 4.3 สถานที่ประกอบอาหารผู้ป่วย (โรงครัวโรงพยาบาล) พัฒนาได้มาตรฐานกรมอนามัย 4.4 ระบบประปาโรงพยาบาลผ่านเกณฑ์รับรองน้ำประปาดื่มได้

ข้อที่ รายละเอียดตัวชี้วัด เป้าหมาย กรมอนามัย ตัวชี้วัด ศอ. 10 5 รพ.สต.   ร้อยละของ รพสต. ที่ดำเนินการ GREEN ครบ 5 ด้าน(ร้อยละ 80) 80ปี (3)

ข้อที่ รายละเอียดตัวชี้วัด เป้าหมาย กรมอนามัย ตัวชี้วัด ศอ. 10 6 อปท.   จำนวน อปท. ผ่านการประเมินคุณภาพระบบบริการ อนามัยสิ่งแวดล้อม (EHA) อย่างน้อย 1 ใน 4 ด้าน ได้แก่ 200 แห่ง Flagship (5) / 6.1 EHA 1000 ระบบสุขาภิบาลอาหาร 80 ปี (4)  6.2 EHA 2000 ระบบคุณภาพน้ำบริโภค 6.3 EHA 3000 ระบบระบบจัดการสิ่งปฏิกูล 6.4 EHA 4000 ระบบการจัดการมูลฝอย - อปท.ดำเนินงานพัฒนาคุณภาพระบบ EHA อย่างน้อย 1ระบบ 80ปี (4.1) - มีเทศบาลที่ผ่านการประเมินพัฒนาคุณภาพ EHA 1 ระบบ 80ปี (4.2)

รายละเอียดตัวชี้วัด กรมอนามัย ศอ. 10 ข้อที่ รายละเอียดตัวชี้วัด เป้าหมาย กรมอนามัย ตัวชี้วัด ศอ. 10 ตัวชี้วัดกลุ่มงาน 7 จำนวนประปาที่ได้มาตรฐานน้ำประปาดื่มได้ (การประปาส่วนภูมิภาคและอปท.) 8 จำนวนตัวอย่างอาหาร,น้ำบริโภค,อากาศ,ฝุ่นที่ได้รับการตรวจเฝ้าระวัง 8 จังหวัด 8.1 อาหาร น้ำ อากาศ อาหาร 9 จำนวนเจ้าพนักงานสาธารณสุขที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและ พรบ.การสาธารณสุขพ.ศ.2535 1) อนุกรรมการสาธารณสุขระดับจังหวัด, 2)จนท.สสจ. สสอ. รพ.สต. 3) อปท.พื้นที่ 80ปี และที่เข้าร่วม EHA 10 ร้อยละของสถานประกอบการ(ปั๊มน้ำมัน)มีส้วมสาธารณะได้มาตรฐาน (ถนนพหลโยธิน และเส้นทางเชื่อมระหว่างจังหวัด)

กิจการที่เป็นอตร.ต่อสุขภาพ สสอ. สถานบริการ สาธารณสุข HPH GREEN&CLEAN องค์กรไร้พุง สายใยรักฯ YFHS DPAC ประชาสังคม SETTING ครอบครัว ศูนย์เด็ก โรงเรียน ที่ทำงาน วัด ชุมชน อปท. พรบ.สธ.2535 ร้านอาหาร ตลาดสด ส้วมสาธารณะ สวนสาธารณะฯ กิจการที่เป็นอตร.ต่อสุขภาพ สื่อสารความเสี่ยง การเฝ้าระวัง Behavioral Adaptation Environmental Adaptation พัฒนาทักษะ ทุกกลุ่มวัย Nutrition Exercise Oral Health Sexual Health Mental Health Sanitation อำเภอสุขภาพดี ๘๐ ปี ยังแจ๋ว

อำเภอสุขภาพดี 80 ยังแจ๋ว ปีงบประมาณ 2557 งานอนามัยสิ่งแวดล้อม เกณฑ์ผ่านการประเมิน อำเภอสุขภาพดี 80 ยังแจ๋ว ปีงบประมาณ 2557 งานอนามัยสิ่งแวดล้อม

อำเภอสุขภาพดี 80 ยังแจ๋ว ๑.ระดับอำเภอ 1. ตลาดสดน่าซื้อ 1 แห่ง 2. ตลาดนัดน่าซื้อ 1 แห่ง 3. ส้วมสาธารณะได้มาตรฐาน HAS 1 แห่ง ๒. รพช. ได้มาตรฐานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมครบ4 ด้าน คือ 1 การจัดการมูลฝอยติดเชื้อ 2. การจัดการน้ำเสีย 3. สถานประกอบอาหารผู้ป่วย 4. ระบบประปา ผ่านมาตรฐานประปาดื่มได้ ๓. รพ.สต. ดำเนินงานตาม Green ครบ 5 ด้าน Garbage , Rest room   Energy  , Environment , Nutrition ๔. อปท.(EHA) 1.อปท.ดำเนินงานพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม อย่างน้อย 1 ประเด็น 2. มีเทศบาลที่ผ่านการประเมินพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม (EHA) อำเภอสุขภาพดี 80 ยังแจ๋ว

1. ระดับอำเภอ เป้าหมาย มาตรฐาน มีส้วมสาธารณะได้มาตรฐาน HAS อย่างน้อย 1 แห่ง 1 แห่ง 2. มีตลาดนัดได้มาตรฐานตลาดนัดน่าซื้อ ระดับดี อย่างน้อย 1 แห่ง 3 มีตลาดนสดได้มาตรฐานตลาดสดน่าซื้อระดับดี อย่างน้อย 1 แห่ง

2. ระดับโรงพยาบาลชุมชน มาตรฐาน เป้าหมาย ดำเนินงานตามมาตรฐานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมครบทั้ง4 ด้าน ทุกแห่ง 2.1 การจัดการมูลฝอยติดเชื้อตามกฎกระทรวงว่าด้วยการจัดการมูลฝอยติดเชื้อ พ.ศ. 2545 2.2 การจัดการน้ำเสียได้ตามมาตรฐานการควบคุมการระบายน้ำทิ้ง พ.ศ.2548 2.3 สถานประกอบอาหารผู้ป่วยได้มาตรฐานระดับดี (โรงครัวโรงพยาบาล) 2.4 ระบบประปาผ่านมาตรฐานรับรองประปาดื่มได้

3. รพ.สต. เป้าหมาย มาตรฐาน ดำเนินงานตาม Green ครบ 5 ด้าน ร้อยละ 80 3.1 Garbage การจัดการมูลฝอยและการใช้ประโยชน์จากสิ่งปฏิกูล โดยใช้หลัก 3 Rs  3.2 Rest room การพัฒนาส้วมในสถานบริการสาธารณสุขให้ได้มาตรฐาน HAS 3.3 Energy  คือ มีมาตรการประหยัดไฟฟ้า การประหยัดพลังงานเชื้อเพลิง 3.4 Environment  คือ การจัดการสิ่งแวดล้อมที่ช่วยลดโลกร้อนและที่เอื้อต่อสุขภาพ 3.5 Nutrition การรณรงค์อาหารปลอดสารพิษ รณรงค์การใช้ผักพื้นบ้าน อาหารพื้นเมือง

4. องค์กรปกครองท้องถิ่น ( อปท.) มาตรฐาน เป้าหมาย การประเมินคุณภาพระบบบริการ อนามัยสิ่งแวดล้อม 4 ด้าน (Environmental Health Accreditation : EHA ) 1) EHA 1000 ระบบสุขาภิบาลอาหาร 2) EHA 2000 ระบบคุณภาพน้ำบริโภค 3) EHA 3000 ระบบระบบจัดการสิ่งปฏิกูล 4) EHA 4000 ระบบการจัดการมูลฝอย 4.1 อปท.ดำเนินงานพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม อย่างน้อย 1 ประเด็น ทุกแห่ง 4.2 มีเทศบาลที่ผ่านการประเมินพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม (EHA) อย่างน้อย 1 ระบบ 1 แห่ง

สวัสดี 4/9/2019