การจัดการสุขาภิบาลอาหาร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
โครงการพัฒนาศักยภาพ เครือข่าย เจ้าพนักงานตามกฎหมาย การสาธารณสุข ( ปี 2551) โดย ศูนย์บริหารกฎหมาย สาธารณสุข และศูนย์อนามัยที่
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
เป็นเจ้าภาพหลัก 2 ประเด็น เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
อำเภอควบคุมยาสูบและเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์เข้มแข็ง ปี 2556
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง ตัวชี้วัดระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้าน บริการ อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ประเด็น / ตัวชี้วัดผลงาน 1. การกำกับดูแลคุณภาพน้ำบริโภคในภาชนะ.
ศูนย์บริหารกฎหมาย สาธารณสุข แนวทางการสนับสนุน การดำเนินงานคณะอนุกรรมการ สาธารณสุขจังหวัด (อสธจ.)
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
สถานการณ์ด้านอนามัย สิ่งแวดล้อม. สถานการณ์การออกเทศบัญญัติ / ข้อกำหนด เทศ บัญญัติ / ข้อกำหน ด กาฬสินธุ์ (%) ขอนแก่ น (%) มหาสารคา ม (%) ร้อยเอ็ ด (%)
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
คณะที่ 4 พัฒนาระบบสนับสนุนด้านสุขภาพ
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
ส้วมสะอาดในร้านอาหาร
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
แนวทางการดำเนินงานเพื่อผู้สูงอายุ
แนวทางปฏิบัติ กรมป่าไม้
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ข้อเสนอ การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม
ด้านสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
EHA กรมอนามัย การดำเนินงานของกลุ่ม อวล + เลขานุการอสธจ. การคุ้มครองสิทธิทางสุขภาพของประชาชนด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ให้ข้อมูล ให้ความรู้ ปกป้องสิทธิ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
จังหวัดสมุทรปราการ.
สรุปผลการดำเนินงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) ไตรมาส 4 ปีงบประมาณ 2560
หลักเกณฑ์การประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
จังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี ปี 54
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดการสุขาภิบาลอาหาร การพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม Environmental Health Accreditation: การจัดการสุขาภิบาลอาหาร ชัยเลิศ กิ่งแก้วเจริญชัย สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ 4/6/2019 3:36 AM

Implement the Guideline Q09: CQI Steps ทำตามระบบ Implement the Guideline วัด/ทบทวน/ตรวจสอบ Monitor/Review ปรับปรุง PDCA วางระบบ Policy Guideline พัฒนาคุณภาพ ประเมินตนเอง โดยความหมายของคำศัพท์ accreditation คือการให้ความไว้วางใจ ให้ความเชื่อถือ ดังนั้น Hospital Accreditation จึงหมายถึงการประเมินและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล อย่างไรก็ตาม การสร้างความไว้วางในหรือน่าเชื่อถือนั้น จะต้องทำโดยโรงพยาบาลเอง ดังนั้นความหมายของคำว่า accreditation ในทางปฏิบัติจึงกว้างกว่าการประเมินและรับรอง แต่จะต้องครอบคลุมไปถึงการพัฒนาคุณภาพของโรงพยาบาลด้วย กระบวนการพัฒนา และรับรองคุณภาพ ประเมินและรับรอง โดยองค์กรภายนอก สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล

พัฒนาการของระบบคุณภาพ What is “quality” ? TQM: Total Quality Management QA: Quality Assurance QC: Quality Control Inspection Inspection QC QA Quality assurance TQM Total Quality Management ศุมล ศรีสุขวัฒนา

การพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ลักษณะสำคัญขององค์กร 6. การจัดการ กระบวนการ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 3. การให้ ความสำคัญกับ ผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 1. การนำ องค์กร 2. การวางแผน ยุทธศาสตร์ 7. ผลลัพธ์การดำเนิน การอนามัย สิ่งแวดล้อม มาตรฐานระบบงานอนามัยสิ่งแวดล้อม SOP ศุมล ศรีสุขวัฒนา

การพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อให้องค์กรมีกระบวนงานสร้างคุณค่าที่ตอบสนองต่อภารกิจหลักและยุทธศาสตร์ขององค์กร และมีคุณภาพมาตรฐานด้านความรวดเร็ว ลดขั้นตอน ประหยัด และคุ้มค่า มีผลิตภาพสูง โดยรวมถึงกระบวนการสนับสนุนด้วย 6. การจัดการ กระบวนการ

การพัฒนาคุณภาพบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม มีกระบวนงานอนามัยสิ่งแวดล้อมที่ได้มาตรฐาน มีการกำหนดกระบวนงาน จากยุทธศาสตร์ พันธกิจ และความต้องการของ ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้เสีย มีมาตรฐานการปฏิบัติงานของทุกกระบวนงาน

การพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น Q09: CQI Steps การพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 1-การจัดการมูลฝอย(ทั่วไป,ติดเชื้อ,อันตราย) 2-การจัดการสิ่งปฏิกูล 3-การเตรียมความพร้อมรองรับภาวะฉุกเฉิน/สาธารณภัย 4-การจัดการข้อร้องเรียนและเหตุรำคาญ 5-การพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบกิจการ 6-การเฝ้าระวังและเตือนภัยด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม 7-กระบวนงานสื่อสารสาธารณะ 8-การออกข้อกำหนดของท้องถิ่น 9-การออกคำสั่งทางปกครอง 10-การออกใบอนุญาต 11-การออกหนังสือรับรองการแจ้ง 12-การเปรียบเทียบปรับและการดำเนินคดี 13-การประยุกต์ใช้การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ 14-การรับรองคุณภาพสถานประกอบกิจการ 15-การพัฒนาคุณภาพน้ำบริโภค ระบบงานที่สำคัญของบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม (SOP) สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล

การพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น บริการอนามัยสิ่งแวดล้อมที่ได้มาตรฐานมีคุณภาพและตอบสนองความต้องการของประชาชน ระดับพื้นฐาน(Basic) ระดับกลาง(Intermediates) ระดับก้าวหน้า(Advance) 7. ผลลัพธ์การ ดำเนิน การอนามัย สิ่งแวดล้อม

Environmental Health Accreditation Q09: CQI Steps Environmental Health Accreditation การบริหารคุณภาพ กระบวนงานคุณภาพ ผลลัพธ์มาตรฐาน PMQA SOP EHSS โดยความหมายของคำศัพท์ accreditation คือการให้ความไว้วางใจ ให้ความเชื่อถือ ดังนั้น Hospital Accreditation จึงหมายถึงการประเมินและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล อย่างไรก็ตาม การสร้างความไว้วางในหรือน่าเชื่อถือนั้น จะต้องทำโดยโรงพยาบาลเอง ดังนั้นความหมายของคำว่า accreditation ในทางปฏิบัติจึงกว้างกว่าการประเมินและรับรอง แต่จะต้องครอบคลุมไปถึงการพัฒนาคุณภาพของโรงพยาบาลด้วย A B I สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล

แผนปฏิบัติการประเด็นยุทธศาสตร์ ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ พ. ศ แผนปฏิบัติการประเด็นยุทธศาสตร์ ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ พ.ศ. 2553 - 2556 เพื่อให้ประชาชนได้บริโภคอาหารและน้ำที่สะอาดปลอดภัย ผลผลิต(output) ผลสัมฤทธิ์ (Out come) ปี2553 ปี2554 ปี2555 -มาตรฐานระบบงานสุขาภิบาลอาหารของอปท. -มาตรฐานกระบวนงาน ศึกษาค้นคว้าข้อมูลการขอ/ต่อ/รับรองใบอนุญาต สำนักสอ. ประชุมจัดทำเกณฑ์ สำนักสอ./ศอ.ทั้ง 12 เขต อปท. มีความเข้าใจ เกณฑ์ประเมิน ระบบ การจัดการ ด้าน สุขาภิบาลอาหาร โครงการ อปท. ดีเด่น มอบเกียรติบัตร/ โล่รางวัล ทน. ทม. ทต. อบต. อย่างน้อย 1 แห่ง สำนักสอ./ ศอ.ทั้ง 12 เขต/สสจ. ทดลองดำเนินการในพื้นที่รับผิดชอบ -ศอ.ทั้ง 12 เขต/สสจ./อปท. ทดลองดำเนินการใน พื้นนำร่อง สำนักสอ./สสจ./อปท. มี อปท. ดีเด่นด้านการจัดการคุณภาพด้านสุขาภิบาลอาหาร Thailand Food Sanitation Quality Award ประชุมจัดทำมาตรฐานSOP สำนักสอ. /สสจ. /อปท. จัดทำคู่มือมาตรฐานระบบการจัดการสอ. -สำนักสอ. อปท.ในเขตรับผิดชอบทั้ง 12 แห่ง ได้รางวัลดีเด่น - มาตรฐานระบบการจัดการ 1 ระบบ - อปท. 4 แห่ง มีมาตรฐานระดับพื้นฐาน - เกณฑ์การประเมินมาตรฐาน 1 เกณฑ์ - อปท. 12 แห่ง มีมาตรฐานระดับพื้นฐาน Thailand Environmental Health Service Standard (Accredit)

ปีงบประมาณ 2553 ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดทำ SOP กระบวนการพัฒนาคุณภาพ ระบบการจัดการสุขาภิบาลอาหาร ร่างคู่มือกระบวนการพัฒนาระบบการจัดการสุขาภิบาลอาหาร ทดลองในพื้นที่นำร่อง 5 แห่ง เกณฑ์การคัดเลือกพื้นที่ 1.จังหวัดที่มีผลการดำเนินงาน CFGT และตลาดสดน่าซื้อมากกว่าร้อยละ 70 2.จังหวัดมีเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานสุขาภิบาลอาหารที่มีความรู้ ประสบการณ์ และให้ความร่วมมือ ในการดำเนินงานเป็นอย่างดี มีสมาคม/ชมรมผู้ประกอบการค้าอาหาร ที่เข้มแข็ง 3.มีองค์ปกครองส่วนท้องถิ่น ครบทั้ง 4 รูปแบบ คือ เทศบาลนคร เทศบาลเมือง เทศบาลตำบล และ อบต. 4.ท้องถิ่นมีการนำ พรบ.การสาธารณสุข พ.ศ. 2535 ไปเป็นแนวทางในการออกข้อกำหนดหรือ ข้อบัญญัติท้องถิ่น และนำไปบังคับใช้ในพื้นที่

จัดอบรมผู้ประกอบกิจการ/ผู้สัมผัสอาหาร มอบบัตรประจำตัวผู้ประกอบกิจการ/ผู้สัมผัสอาหารที่ผ่านการอบรมฯ จัดพิธีมอบบัตรประจำตัวฯ ผู้บริหาร ผู้นำ ผู้มีชื่อเสียงในท้องถิ่น (นายชวน หลีกภัย เป็นประธาน) ภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องร่วมในกิจกรรม ประเมินการจัดกิจกรรม ร่างเกณฑ์การประเมินตนเองด้านการจัดการสุขาภิบาลอาหารของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

ปีงบประมาณ 2554 ทบทวนคู่มือกระบวนการพัฒนาระบบการจัดการสุขาภิบาลอาหาร ปรับปรุงเกณฑ์การประเมินตนเองด้านการจัดการสุขาภิบาลอาหารของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ขยายผลการพัฒนาระบบการจัดการสุขาภิบาลอาหารไปยังองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น ในพื้นที่รับผิดชอบของศูนย์อนามัยที่ 1-12 (เป้าหมาย 12 แห่ง) ผ่านเกณฑ์ในระดับพื้นฐาน ปานกลาง ก้าวหน้า

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ผ่านเกณฑ์การประเมินตนเอง (ปี 2553- 2554 = 17 แห่ง) ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การดำเนินงานพัฒนาระบบคุณภาพการ จัดการสุุขาภิบาลอาหาร สรุปบทเรียนการดำเนินงานฯ มอบรางวัลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดีเด่นด้านการจัดการสุขาภิบาล อาหาร (17 แห่ง ของปี 2553-2554) ในการประชุมวิชาการกรม อนามัย

ปีงบประมาณ 2555-2556 ขยายผลการพัฒนาระบบการจัดการสุขาภิบาลอาหารไปยังองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น ในพื้นที่รับผิดชอบของศูนย์อนามัยที่ 1-12 (เป้าหมาย 48 แห่ง) พัฒนาตามแนวทางระบบEHA บันทึกข้อตกลงระหว่างกรมอนามัย กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กรมควบคุมมลพิษ(พัฒนาศักยภาพของบุคลากร,การพัฒนาคุณภาพระบบ บริการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม) ประชุมสรุปผลการดำเนินงานและวางแนวทางการดำเนินงานในปี 2557-2560

มาตรฐานการปฏิบัติงาน(SOP) การจัดการสุขาภิบาลอาหาร การพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม Environmental Health Accreditation

การจัดการสุขาภิบาลอาหาร การจัดการและควบคุมอาหารให้สะอาด ปลอดภัย ทำได้โดยการจัดการและควบคุมปัจจัยที่เป็นสาเหตุทำให้อาหารไม่สะอาดปลอดภัยต่อการบริโภค การควบคุมปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเตรียมปรุงประกอบการบริการอาหาร 5 ปัจจัย คือ 1.ผู้สัมผัสอาหาร ได้แก่ ผู้เตรียม ปรุง และให้บริการอาหาร 2.อาหาร ได้แก่ การเลือกซื้อ การปรุง การเก็บ อาหาร น้ำแข็ง น้ำดื่ม และสารปรุงแต่งอาหารที่ถูกสุขลักษณะและได้มาตรฐาน 3.ภาชนะอุปกรณ์ ได้แก่ การเลือกใช้ การล้าง และการเก็บที่ถูกวิธี 4.สถานที่ ได้แก่ สถานที่ปรุง ประกอบ และจำหน่าย/บริการอาหารที่ถูกสุขลักษณะ 5.สัตว์แมลงนำโรค ได้แก่ การควบคุมป้องกันสัตว์แมลงนำโรคในบริเวณที่เตรียม ปรุง และให้บริการอาหารให้ถูกสุขลักษณะ

ระบบงานด้านสุขาภิบาลอาหาร ระบบการรับรองตามพรบ.การสาธารณสุข พศ.2535 -สถานประกอบกิจการ -เจ้าหน้าที่ -ผู้ประกอบการ -ผู้สัมผัสอาหาร ระบบการเฝ้าระวังด้านสุขาภิบาลอาหาร ระบบการพัฒนาศักยภาพสร้างเสริมพฤติกรรมการบริโภค การร้องเรียนสถานประกอบกิจการ พัฒนาศักยภาพ ภาคีเครือข่าย ข้อมูลสารสนเทศ/สถานการณ์ด้านสุขาภิบาลอาหาร มาตรฐาน/กฎหมาย: สถานประกอบการ/เจ้าหน้าที่ ผู้ประกอบการ/หลักสูตร สื่อสารสาธารณะ/สื่อสารความเสี่ยง

การจัดการสุขาภิบาลอาหาร และกระบวนงานที่เกี่ยวข้อง การจัดการสุขาภิบาลอาหารและกระบวนงานที่เกี่ยวข้อง A1 : กระบวนงานออกข้อกำหนดท้องถิ่น ตาม พรบ.การสาธารณสุข พ.ศ.2535 B1 : กระบวนงานพัฒนาศักยภาพ เจ้าหน้าที่/ผู้ประกอบกิจการ/ ผู้สัมผัสอาหาร B2 : กระบวนงานรับรองสถานประกอบกิจการ A2 : กระบวนงานการอนุญาต/การแจ้ง ตาม พรบ.การสาธารณสุข พ.ศ. 2535 B3 : กระบวนงานเฝ้าระวังด้านสุขาภิบาลอาหาร A3 : กระบวนงานการออกคำสั่ง/การเปรียบเทียบปรับ ตาม พรบ.การสาธารณสุข พ.ศ. 2535 B4 : กระบวนงานร้องเรียนสถานประกอบกิจการ B5 : กระบวนงานสื่อสารสาธารณะ

การจัดการสุขาภิบาลอาหาร B1 : กระบวนงานพัฒนาศักยภาพ เจ้าหน้าที่/ ผู้ประกอบกิจการ/สัมผัสอาหาร 7 B4 : กระบวนงานร้องเรียนสถานประกอบกิจการ 15 B5 : กระบวนงานสื่อสารสาธารณะ 16 B2 : กระบวนงานรับรองสถานประกอบกิจการ 6 B3 : กระบวนงานเฝ้าระวังด้านสุขาภิบาลอาหาร 13

มาตรฐานการปฏิบัติงาน(SOP)

มาตรฐานการปฏิบัติงาน(SOP) 7 6 13 -อาหารสะอาดปลอดภัย -มีระบบควบคุมป้องกัน , -มีความยั่งยืน 15 16

มาตรฐานการปฏิบัติงาน(SOP) การจัดการสุขาภิบาลอาหาร 7. ผลลัพธ์การ ดำเนิน การจัดการสุขาภิบาลอาหารที่ได้มาตรฐาน มีคุณภาพ/ลดความเสี่ยงในการบริโภค อาหารที่ไม่สะอาดและคุ้มครองสิทธิ ประชาชนในการเลือกบริการจากสถาน ประกอบการที่ได้มาตรฐาน 1.สถานประกอบกิจการด้านอาหารได้มาตรฐานตามเกณฑ์สุขาภิบาลอาหาร (ตามข้อกำหนดท้องถิ่น หรือ กรมอนามัย) ร้อยละ 90 2.1 เจ้าของหรือผู้ควบคุมดูแลสถานประกอบกิจการด้านอาหาร ผ่านการอบรมด้านสุขาภิบาลอาหาร ร้อยละ 80 2.2 ผู้สัมผัสอาหารผ่านการอบรมด้านสุขาภิบาลอาหาร ร้อยละ 60 3.มีรายงานสถานการณ์ความปลอดภัย ด้านอาหารในพื้นที่อย่างต่อเนื่องปีละ 1 ครั้ง 4.ประชาชนมีพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ถูกต้อง ร้อยละ 60 5.ปัญหาข้อร้องเรียนได้รับการแก้ไข ร้อยละ 70

B1:กระบวนงานพัฒนาศักยภาพ จนท. ผู้ประกอบกิจการ/ผู้สัมผัสอาหาร ขั้นตอน 6.1 กำหนดผู้รับผิดชอบ 6.2 สำรวจทะเบียน / รวบรวมข้อมูล 6.3 จัดทำโครงการ 6.4 เสนอขออนุมัติ 6.5 แต่งตั้งคณะทำงาน 6.6 เตรียมการก่อนอบรม 6.7 ดำเนินการอบรม 6.8 ประเมินผลการอบรม 6.9 มอบประกาศนียบัตร / บัตรประจำตัวผู้ประกอบกิจการ 6.10 จัดทำทะเบียนผู้ประกอบกิจการ / ผู้ผ่านการอบรม 6.11 สรุปผลการดำเนินงาน หลักฐานอ้างอิง -มีทะเบียนรายชื่อผู้ประกอบกิจการที่ ต้องควบคุม -โครงการพัฒนาศักยภาพฯ -คำสั่งแต่งตั้ง -การอบรมเป็นไปตามหลักสูตรฯกรมอนามัย ผลลัพธ์ เจ้าหน้าที่มีความรู้ด้านสุขาภิบาลอาหาร(มีการอบรมฯ) เจ้าของกิจการ/ผู้ควบคุมดูแล สปก มีความรู้ด้าน สุขาภิบาลอาหาร(มีการอบรมฯ) ผู้สัมผัสอาหารมีความรู้ด้านสุขาภิบาลอาหาร (มีการอบรมฯ)

B2 : กระบวนงานรับรองสถานประกอบกิจการ ขั้นตอน 6.1 กำหนดผู้รับผิดชอบ 6.2 แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจรับรอง 6.3 วางแผนและประสานงาน 6.4 ตรวจแนะนำสถานประกอบกิจการ โดยพิจารณาตามเกณฑ์มาตรฐานการรับรอง 6.5 ออกเอกสารการรับรอง 6.6 จัดทำทะเบียนการรับรอง 6.7 สรุปผลการดำเนินงาน 6.8 ตรวจติดตามต่ออายุ ตามเงื่อนไขของการรับรอง อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง หลักฐานอ้างอิง -มีการออกข้อกำหนดหรือเทศบัญญัติควบคุมกิจการ -คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ -ทะเบียนสถานประกอบกิจการที่ผ่านเกณฑ์การรับรอง ผลลัพธ์ เกณฑ์มาตรฐานด้านสุขาภิบาลอาหาร (1) การออกข้อกำหนดของท้องถิ่น การตรวจแนะนำสถานประกอบการ(2) การออกใบอนุญาต/หนังสือรับรองการแจ้ง(3) มีการรับรองสถานประกอบการให้ได้มาตรฐาน(4) การควบคุมหลังการออกใบอนุญาตฯ (สุ่มประเมิน)

B3 : กระบวนงานเฝ้าระวังด้านสุขาภิบาลอาหาร ขั้นตอน 6.1 กำหนดผู้รับผิดชอบ 6.2 จัดทำโครงการ 6.3 แต่งตั้งคณะทำงาน (ถ้ามี) 6.4 กำหนดประเด็นเฝ้าระวังด้านสุขาภิบาลอาหาร 6.5 กำหนดประชากรเป้าหมายและนิยาม 6.6 วางแผนดำเนินการ / สุ่มตัวอย่าง 6.7 คัดเลือกเครื่องมือ / วิธีการเก็บ 6.8 ประสานงานผู้เกี่ยวข้อง 6.9 ดำเนินการเก็บตัวอย่างตามเป้าหมาย 6.10 รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล 6.11 สรุปสถานการณ์ด้านสุขาภิบาลอาหาร 6.12 รายงานสถานการณ์ด้านสุขาภิบาลอาหาร หลักฐานอ้างอิง -ผลการวิเคราะห์ข้อมูลสถานการณ์ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม -คำสั่งคณะกรรมการ -ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ผลลัพธ์ รายงานสถานการณ์ด้านสุขาภิบาลอาหาร(5) แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเฝ้าระวัง (1) วิเคราะห์สถานการณ์ด้านสุขาภิบาลอาหาร ในพื้นที่(2) - มีกิจกรรมแก้ไขปัญหาสุขาภิบาลอาหารที่พบ(3) กำหนดประเด็นปัญหาสุขาภิบาลอาหารและ ดำเนินการเฝ้าระวังฯ ในพื้นที่(4)

B4 : กระบวนงานร้องเรียนสถานประกอบกิจการ ขั้นตอน 6.1 กำหนดผู้รับผิดชอบ 6.2 กำหนดช่องทางการรับเรื่อง 6.3 รับเรื่องร้องเรียน 6.4 ลงทะเบียนรับเรื่อง 6.5ตรวจสอบพิจารณาดำเนินการ 6.6 ประสานงานผู้เกี่ยวข้อง 6.7 ดำเนินการแก้ปัญหา 6.8 รายงานผล / แจ้งผลการดำเนินงาน 6.9 สรุปผลการดำเนินงาน หลักฐานอ้างอิง -คำสั่งแต่งตั้งผู้รับผิดชอบ -ทะเบียนรับเรื่อง -ผู้ร้องเรียนพอใจร้อยละ 80 -รายงานผลการดำเนินงาน ผลลัพธ์ ช่องทางการร้องเรียน(1) ทะเบียนรับเรื่องร้องเรียน(2) ระบบการแก้ปัญหาเรื่องร้องเรียน(3) เรื่องร้องเรียนได้รับการแก้ไข (4) มีการแจ้งผลให้ผู้ร้องเรียนทราบ (5)

B5 : กระบวนงานสื่อสารสาธารณะ ขั้นตอน 6.1 กำหนดผู้รับผิดชอบ 6.2 แต่งตั้งคณะทำงาน 6.3 ทำแผนสรุปรวบรวมข้อคิดเห็นต่างๆ 6.4 กำหนดประเด็นการสื่อสารด้านสุขาภิบาลอาหาร 6.5ทำแผนการประชาสัมพันธ์ 6.6ดำเนินการประชาสัมพันธ์ 6.7 ประเมินผล 6.8 สรุปผลการดำเนินงาน หลักฐานอ้างอิง --ประเด็นการสื่อสาร -แผนการสื่อสาร/แผนการจัดจ้าง -ภาพถ่ายกิจกรรม -รายงานผลการดำเนินงาน ผลลัพธ์ มีการกำหนดประเด็นการดำเนินงานเผยแพร่ ปชส. ด้านสุขาภิบาลอาหาร (1) แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมประชาสัมพันธ์ ด้านสุขาภิบาลอาหาร (2) เผยแพร่ประชาสัมพันธ์เพื่อแก้ไขปัญหาด้าน สุขาภิบาลอาหารที่พบในพื้นที่(3) การสื่อสารผ่านสื่อบุคคล หรือกระบวนการ ทางสังคมเพื่อให้เกิดนโยบายสาธารณะด้าน สุขาภิบาลอาหาร(4)

ระบบการจัดการสุขาภิบาลอาหาร ของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 1. กระบวนงานรับรอง สปก. ตาม พรบ. สธ. 2535 (ร้าน/ แผง/ ตลาดประเภท 1) 2. กระบวนงานพัฒนาศักยภาพ จนท./ ผู้ประกอบกิจการ/ผู้สัมผัสอาหาร 3. กระบวนงานเฝ้าระวังด้านสุขาภิบาล อาหาร 4. กระบวนงานสื่อสารสาธารณะ 5. กระบวนงานร้องเรียน สปก. ด้าน ระดับพื้นฐาน ระดับกลาง ระดับก้าวหน้า

แนวคิดการจำแนกระดับระบบจัดการด้านสุขาภิบาลอาหาร ปชก./จำนวนสปก./อัตราครอบคลุมCFGT/อัตราป่วยโรคอาหารและน้ำเป็นสื่อ มาตรฐานงานและตัวชี้วัด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ความเป็นเมืองสูง เทศบาลนคร/เทศบาลเมือง ระบบการจัดการด้านสุขาภิบาลอาหาร ระดับก้าวหน้า กึ่งเมืองกึ่งชนบท เทศบาลตำบล ระบบการจัดการด้านสุขาภิบาลอาหารระดับกลาง ชนบท อบต. ระบบการจัดการด้านสุขาภิบาลอาหาร ระดับพื้นฐาน ระบบการเฝ้าระวังด้านสุขาภิบาลอาหาร พฤติกรรม/ความพึงพอใจผู้บริโภค

ระบบการจัดการสุขาภิบาลอาหารของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มาตรฐานงาน ตัวชี้วัด 1.กระบวนงานรับรองสถานประกอบการด้านอาหารฯ เกณฑ์มาตรฐานด้านสุขาภิบาลอาหาร (1) การออกข้อกำหนดของท้องถิ่น การตรวจแนะนำสถานประกอบการ(2) การออกใบอนุญาต/หนังสือรับรองการแจ้ง(3) มีการรับรองสถานประกอบการให้ได้มาตรฐาน(4) การควบคุมหลังการออกใบอนุญาตฯ (สุ่มประเมิน) 2. กระบวนงานพัฒนาศักยภาพฯ - เจ้าหน้าที่มีความรู้ด้านสุขาภิบาลอาหาร(มีการอบรมฯ) เจ้าของกิจการ/ผู้ควบคุมดูแล สปก มีความรู้ด้าน สุขาภิบาลอาหาร(มีการอบรมฯ) ผู้สัมผัสอาหารมีความรู้ด้านสุขาภิบาลอาหาร (มีการอบรมฯ)

มาตรฐานงาน ตัวชี้วัด 3.กระบวนงานเฝ้าระวังด้าน สุขาภิบาลอาหาร รายงานสถานการณ์ด้านสุขาภิบาลอาหาร(5) แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเฝ้าระวัง (1) วิเคราะห์สถานการณ์ด้านสุขาภิบาลอาหาร ในพื้นที่(2) - มีกิจกรรมแก้ไขปัญหาสุขาภิบาลอาหารที่พบ(3) กำหนดประเด็นปัญหาสุขาภิบาลอาหารและ ดำเนินการเฝ้าระวังฯ ในพื้นที่(4) 4. กระบวนงานสื่อสาร สาธารณะ มีการกำหนดประเด็นการดำเนินงานเผยแพร่ ปชส. ด้านสุขาภิบาลอาหาร (1) แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมประชาสัมพันธ์ ด้านสุขาภิบาลอาหาร (2) เผยแพร่ประชาสัมพันธ์เพื่อแก้ไขปัญหาด้าน สุขาภิบาลอาหารที่พบในพื้นที่(3) การสื่อสารผ่านสื่อบุคคล หรือกระบวนการ ทางสังคมเพื่อให้เกิดนโยบายสาธารณะด้าน สุขาภิบาลอาหาร(4)

สถานประกอบการด้านอาหาร มาตรฐานงาน ตัวชี้วัด 5. กระบวนงานร้องเรียน สถานประกอบการด้านอาหาร ช่องทางการร้องเรียน(1) ทะเบียนรับเรื่องร้องเรียน(2) ระบบการแก้ปัญหาเรื่องร้องเรียน(3) เรื่องร้องเรียนได้รับการแก้ไข (4) มีการแจ้งผลให้ผู้ร้องเรียนทราบ (5)

ระบบการจัดการสุขาภิบาลอาหารของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กระบวนงาน ตัวชี้วัด 1.กระบวนงานรับรองสถานประกอบกิจการด้านอาหารตาม พรบ.การสาธารณสุข 2535 (ร้านอาหาร / แผงลอยจำหน่ายอาหาร/ตลาดประเภทที่ 1) 1.สถานประกอบกิจการด้านอาหารได้มาตรฐานตามเกณฑ์สุขาภิบาลอาหาร (ตามข้อกำหนดท้องถิ่น หรือ กรมอนามัย) ร้อยละ 90 2.กระบวนงานพัฒนาศักยภาพผู้สัมผัสอาหาร 2.1 เจ้าของหรือผู้ควบคุมดูแลสถานประกอบกิจการด้านอาหาร ผ่านการอบรมด้านสุขาภิบาลอาหาร ร้อยละ 80 2.2 ผู้สัมผัสอาหารผ่านการอบรมด้านสุขาภิบาลอาหาร ร้อยละ 60 3.กระบวนงานเฝ้าระวังด้านสุขาภิบาลอาหาร 3.มีรายงานสถานการณ์ความปลอดภัย ด้านอาหารในพื้นที่อย่างต่อเนื่องปีละ 1 ครั้ง 4.กระบวนงานสื่อสารสาธารณะด้านสุขาภิบาลอาหาร 4.ประชาชนมีพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ถูกต้อง ร้อยละ 60 5.กระบวนงานแก้ไขปัญหา/ข้อร้องเรียนจากสถานประกอบกิจการด้านอาหาร 5.ปัญหาข้อร้องเรียนได้รับการแก้ไข ร้อยละ 70

มีทะเบียนและระบบที่รวดเร็ว ประเด็นการประเมิน ระดับคะแนน พื้นฐาน ปานกลาง ก้าวหน้า 1.กระบวนงานรับรองสถานประกอบกิจการตามพรบ.สธ.2535   1.1 มีการนำเกณฑ์มาตรฐานไปใช้ออกข้อกำหนดของท้องถิ่นตามหมวด8และ9 50% ข้อมาตรฐาน 70% 80% 1.2 มีการตรวจแนะนำ -ก่อนเปิดร้าน -ก่อนต่ออายุใบอนุญาต 60% 50% 1.3 มีการออกใบอนุญาต/หนังสือรับรองการแจ้ง/มีทะเบียนผู้ประกอบกิจการค้าอาหาร มีทะเบียน/เอกสาร มีทะเบียนและระบบ มีทะเบียนและระบบที่รวดเร็ว 1.4มีการรับรองสถานประกอบกิจการได้มาตรฐานตามเกณฑ์สุขาภิบาลอาหาร/ตามข้อกำหนดท้องถิ่น หรือตามเกณฑ์กรมอนามัย

ความรู้พื้นฐานด้านสุขาภิบาลอาหาร food inspectorและสามารถถ่ายทอด ประเด็นการประเมิน ระดับคะแนน พื้นฐาน ปานกลาง ก้าวหน้า 2.กระบวนงานพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่/ผู้ประกอบกิจการ /ผู้สัมผัสอาหาร   2.1 มีการพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานด้านสุขาภิบาลอาหาร ความรู้พื้นฐานด้านสุขาภิบาลอาหาร food inspector food inspectorและสามารถถ่ายทอด 2.2 มีการอบรมเจ้าของหรือผู้ควบคุมดูแลสถานประกอบกิจการด้านอาหาร 60% 70% 80% 2.3 ผู้สัมผัสอาหารผ่านการอบรมด้านสุขาภิบาลอาหาร 30% 50%

ประเด็นการประเมิน ระดับคะแนน พื้นฐาน ปานกลาง ก้าวหน้า 3.กระบวนงานร้องเรียนสถานประกอบกิจการ ด้านสุขาภิบาลอาหาร   3.1 มีช่องทางการร้องเรียน 1 ช่องาง  2-3ช่องทาง >3ช่องทาง  3.2 มีระบบ(FlowChart)การแก้ไขปัญหาข้อร้องเรียนด้านสุขาภิบาลอาหาร มีทะเบียน จัดหมวดหมู่  สืบค้น เป็นระบบ  3.3เรื่องร้องเรียนได้รับการแก้ไข 50% 60% 70% 3.4 มีการแจ้งผลการดำเนินงานให้ผู้ร้องเรียนและหรือผู้บริหารหน่วยงานทราบ ( ของเรื่องทั้งหมดที่ได้รับการร้องเรียน) 80%

ประเด็นการประเมิน ระดับคะแนน พื้นฐาน ปานกลาง ก้าวหน้า 4.กระบวนงานเฝ้าระวังด้านสุขาภิบาลอาหาร   4.1มีการจัดทำแผน/โครงการ/กิจกรรมการเฝ้าระวังด้านสุขาภิบาลอาหารในพื้นที่ ร่วมกับหน่วย งานอื่น มีแผนดำเนินงานเอง มีแผนบูรณาการ  4.2 มีการวิเคราะห์สถานการณ์ด้านสุขาภิบาลอาหารในพื้นที่ 4.3 มีกิจกรรมแก้ไขปัญหาสุขาภิบาลอาหารที่พบ 4.4สามารถกำหนดประเด็นที่เป็นปัญหาด้านสุขาภิบาลอาหารของพื้นที่ได้และดำเนินการเฝ้าระวังปัญหาที่พบ(กำหนดพื้นที่เสี่ยงในการเฝ้าระวัง ทั้งทางกายภาพ เคมี และชีวภาพ) 4.5 มีรายงานสถานการณ์ด้านสุขาภิบาลอาหาร อย่างน้อยปีละ 1 เรื่อง

ประเด็นการประเมิน พื้นฐาน ปานกลาง ก้าวหน้า ทุกระดับ ระดับคะแนน พื้นฐาน ปานกลาง ก้าวหน้า 5.กระบวนงานสื่อสารสาธารณะด้านสุขาภิบาลอาหาร   5.1มีการกำหนดประเด็นการดำเนินงานเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ ทุกระดับ 5.2 มีแผนงานโครงการ/กิจกรรมการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ด้านสุขาภิบาลอาหารในพื้นที่อย่างน้อย 1 โครงการ(CFGT /ตลาดสด) (สอดคล้องกับกระบวนงานเฝ้าระวังฯ) 5.3 มีการประชาสัมพันธ์ด้านสุขาภิบาลอาหารอาหาร อย่างน้อย 1 ครั้ง/ปี 5.4 มีการสื่อสารโดยผ่านสื่อบุคคลที่มีชื่อเสียง เป็นที่ยอมรับ (ทั้งในระดับพื้นที่และในสังคม) หรือมีกระบวนการทางสังคมที่มีส่วนร่วมเพื่อให้เกิดนโยบายสาธารณะด้านสุขาภิบาลอาหาร(Public Hearing

โครงการพัฒนาระบบการจัดการสุขาภิบาลอาหารขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อปท. ปี53-54 ปี55 ปี56 รวม เทศบาลนคร 2 5 1 8 เทศบาลเมือง 12 10 27 เทศบาลตำบล 23 60 อบต 17 42 38 97

สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ WEB SITE สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ http://foodsan.anamai.moph.go.th/ สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ถนนติวานนท์ อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000 โทร. 0-2590-4179, 0-2590-4174, 0-2590-4173, 0-2590-4184 โทรสาร 0-2590-4188 http://www.facebook.com/foodandwatersanitation/