วิทยาลัยเทคโนโลยีลำปาง (แลมป์ – เทค)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผู้เสนอ นางประภัสสร แก้วประสาน สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
Advertisements

ผู้วิจัย นางนันทา สุพจน์เฉลิมขวัญ
วิจัยเรื่อง “ผลการจัดการเรียนรู้รายวิชา คณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 เรื่อง ความน่าจะเป็นโดยใช้เทคนิคร่วมกันคิด” โดย นางสาวนิภาพร วิริยะประกอบ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
การสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศของ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสม นางสาวพัชรี นาคทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
การพัฒนาการเรียนการสอน ในรายวิชา หลักการออกแบบกราฟิก แผนกคอมพิวเตอร์กราฟิก โดยใช้เกมโลโก้ อิเล็กทรอนิกส์ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 1 นายธนาลักษณ์
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษ โดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Brain- Based Learning ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3/1 สาขาการขาย.
ผู้วิจัย นางสาวมัตติกา ขวัญใจ วิทยาลัยเทคโนโลยีพาณิชยการลานนา
นางสาวปุณณภา ฉัตรเดชาพล
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชยการ กรุงเทพมหานคร ผู้วิจัย
ชื่อเรื่องวิจัย การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความคงทนในการจำต่อวิชา ฮาร์ดแวร์และยูทิลิตี้เบื้องต้น ระหว่างการเรียนแบบปกติและการเรียนรู้ โดยใช้แบบฝึกหัดแผนที่ความคิด.
ผู้วิจัย อาจารอุบลรัตน์ น้อยสำแดง
สุนันทา โสรณสุทธิ์ ผู้วิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชย การ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
นางปราณี ธำรงสุทธิพันธ์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลศรีย่าน
โดย นางสาวนิภาพร เถาคำแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค.)
วิจัยเรื่อง ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
ผู้เสนอ นางสาวนิภาพร วิริยะประกอบ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
ผู้วิจัย : นางสาวสุรีรัตน์ ขันคำ
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)
นางสาวทศพร ปินตาสม วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่

ผู้วิจัย การพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ VDO ช่วยสอน
นางบัววิไล แก้วอู๋ ผู้วิจัย
นางสาวรัฏฐภรณ์ เหล็กไหล
ปัญหาการวิจัย : 1. การพัฒนาของ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเพื่อเป็น แนวทางการศึกษาแบบใหม่ 2. พัฒนาทักษะและชักจูงความ สนใจของนักศึกษาให้สนใจต่อการ เรียนให้มากขึ้น.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการสยาม ในพระอุปถัมภ์ฯ
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจกลุ่ม 821
นายวิระ หนูราช วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
วิจัยเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาธุรกิจทั่วไป
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน ในรายวิชาหลักเศรษฐศาสตร์ ด้วยวิธี เพื่อนช่วยเพื่อน ผู้วิจัย นาง นุสรา ปิยะศาสตร์ ตำแหน่ง ครูผู้สอน วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยา.
โดย นายยิ่งเจริญ บุญยัง

การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ ความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
โดย นางสาวพัชรินทร์ แสงเงิน วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
นางสุภาภรณ์ หงษ์ สุวรรณ วิทยาลัย อาชีวศึกษาดุสิต พณิชยการ นำเสนอ ประเภทที่ 1 วิจัยการเรียนการ สอน ( วิจัยชั้นเรียน ) นำเสนอ การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน.
กิจกรรมการเรียนการสอน ที่หลากหลาย เพื่อเพิ่ม ผลสัมฤทธิ์ในการเรียน วิชา กฎหมายแรงงานและ การประกันสังคม ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.2 วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์
ประชิด เกิดมาก ผู้วิจัย. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาสภาพการจัดการเรียน การสอนด้วยจิกซอว์ 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนก่อนเรียน.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาการใช้โปรแกรมตาราง งานโดยวิธีการเรียนรู้แบบเพื่อน ช่วยเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้น ปีที่
การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาคอมพิวเตอร์ เพื่อการออกแบบของ นักเรียนประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 สาขางาน คอมพิวเตอร์กราฟิค วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ.
วัตถุประสงค์การวิจัย
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลศรีย่าน
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
ทำการวิจัยโดย นางรุ่งนภา ทินช่วย
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาความสามารถด้านการพูดนำเสนอโปรแกรมท่องเที่ยวโดยใช้การสอนแบบบทบาทสมมุติ วิชาการตลาดเพื่อการท่องเที่ยวของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรชั้นปีที่
การพัฒนาบุคลิกภาพด้านการแสดงออกของผู้เรียน
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการ พลาญชัยร้อยเอ็ด
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
นางนพรัตน์ สุวรรณโณ วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยาสงขลา
นางสาวสุภาวดี นุกุลเสาวลักษณ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ 2559
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย ศุภลักษณ์ พูลเกษม วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ 8
นางอัชฌา เพ็งพินิจ นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
การนำเสนอผลงานวิจัยและนวัตกรรมสื่อการสอนทางอาชีวศึกษา ครั้งที่ 8
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ 6
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการพัฒนาการจัดการเรียนรู้
วิทยาลัยเทคโนโลยีลำปาง
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา การบัญชี อุตสาหกรรมและระบบใบสำคัญ ของนักศึกษาระดับ ปวช. 3 สาขาการบัญชี ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้
ผู้วิจัย นายณัฐภูมิ จาระธรรม วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่
โดย นางสาววิมลรัตน์ ยอดคำแปง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิทยาลัยเทคโนโลยีลำปาง (แลมป์ – เทค) ชื่อวิจัย การพัฒนาการเรียนรู้เรื่อง การจัดทำงบต้นทุนการผลิตด้วยการใช้เกมในรายวิชาการบัญชีอุตสาหกรรมของผู้เรียนระดับชั้น ปวช. 3 สาขาวิชาการบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีลำปาง ผู้วิจัย นางประยูร สว่างทุกข์ วิทยาลัยเทคโนโลยีลำปาง (แลมป์ – เทค)

ปัญหาการวิจัย ผู้เรียนทำงบต้นทุนการผลิตไม่ได้ ผู้เรียนไม่ได้ทำงบต้นทุนการผลิตด้วนตนเอง ผู้เรียนขาดความสนใจในการจัดการเรียนการสอน คะแนนทดสอบก่อนเรียนของผู้เรียนต่ำ

วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องการจัดทำงบต้นทุน การผลิต ในรายวิชาการบัญชีอุตสาหกรรมของผู้เรียนระดับชั้น ปวช. 3 สาขาการบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีลำปางที่ได้เรียนรู้โดย วิธีเกม 2. เพื่อศึกษาความพึงพอใจการจัดการเรียนการสอนด้วยการใช้ เกม ของผู้เรียนระดับชั้น ปวช.3 สาขาวิชาการบัญชี วิทยาลัย เทคโนโลยีลำปาง

กรอบแนวคิดในการวิจัย ตัวแปรต้น (Independent Variables) ตัวแปรตาม (Dependent Variables) กิจกรรมเกม ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความพึงพอใจของผู้เรียน

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ตารางที่ 1 แสดงผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน ก่อนเรียน และหลังเรียน ด้วยการใช้กิจกรรมเกม เรื่อง งบต้นทุนการผลิต ระดับชั้น ปวช. 3 สาขางานการบัญชี จำนวน 11 คน ลำดับ ชื่อ - สกุล ก่อนเรียน หลังเรียน หมายเหตุ 1 นางสาวบัญฑิตา สุดใจ 4 7   2 นางสาวเกตุวดี กระเสาร์ 3 6 นางสาวอุทุมพร ดวงสนิท นางสาวพรชนก เมทา 10 5 นางสาวเบญจวรรณ ปงผาบ 9 นางสาวแคทรียา ยะหัวฝาย 8 นางสาวลักษิกา โสภาแปง นางขวัญฤทัย ฮาวปินใจ นางสาวสุมาลิน วิงวอน นางสาวจรรยา กาวินันท์ 11 นางสาวดรุณี ไชยวงค์ ค่าเฉลี่ย 4.09 7.82

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล รูปภาพแสดงค่าเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน ก่อนเรียนและหลังเรียน ด้วยการใช้กิจกรรมเกม เรื่อง งบต้นทุนการผลิต ระดับชั้น ปวช. 3 สาขางานการบัญชี

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ตารางที่ 2 แสดงค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของการประเมินความพึงพอใจต่อ การจัดการเรียนการสอนโดยการใช้เกมเรื่อง “การจัดทำงบต้นทุนการผลิต” ข้อ ประเด็น ค่าเฉลี่ย S.D. ความหมาย 1 ผู้เรียนมีความรู้เกี่ยวกับการทำงบต้นทุนการผลิตเพิ่มขึ้น 4.55 0.52 มากที่สุด 2 ทำให้ผู้เรียนมีทักษะในการทำงบต้นทุนการผลิตเพิ่มขึ้น 4.45 มาก 3 ทำให้ผู้เรียนจัดทำงบต้นทุนการผลิตได้เร็วกว่าเดิม 4.27 0.47 4 ทำให้ผู้เรียนสนุกกับกิจกรรม 4.73 5 ทำให้ผู้เรียนมีนุษย์สัมพันธ์กับเพื่อนมากขึ้น 4.64 0.50 6 ทำให้ผู้เรียนเกิดการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน 7 ทำให้ผู้เรียนรู้แพ้ชนะ รู้จักการให้อภัย 8 ผู้เรียนรู้สึกชอบกิจกรรม 4.82 0.40 สรุปโดยรวม 4.57 ดีมาก

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล กราฟแสดงค่าเฉลี่ยของการประเมินความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนการสอนโดยการใช้เกมเรื่อง “การจัดทำงบต้นทุนการผลิต”

สรุปผลการวิจัย ผลการศึกษาผลสัมฤทธิ์ด้วยการใช้เกม เรื่องการจัดทำงบ ต้นทุนการผลิต ผู้เรียน ระดับชั้น ปวช. 3 สาขาการบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีลำปาง พบว่าผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน หลังการใช้เกม เรื่องการจัดทำงบต้นทุนการผลิต มีค่าเฉลี่ย สูงขึ้น ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 7.82

สรุปผลการวิจัย ผลการศึกษาระดับความพึงพอใจของผู้เรียนต่อการใช้เกม เรื่อง การจัดทำงบต้นทุนการผลิต ของผู้เรียนระดับชั้น ปวช. 3 ประเภทวิชาพาณิชยกรรม สาขา การบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีลำปาง ปรากฏว่าความพึงพอใจของผู้เรียน โดยรวมอยู่ในระดับ ดีมาก ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.57 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.50 เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่าผู้เรียนมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุดคือ ข้อ 8 ผู้เรียนรู้สึกชอบกิจกรรม ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.82 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.40 รองลงมาคือข้อ 4 ผู้เรียนรู้สนุกกับกิจกรรม ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.73 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.47 และประเด็นที่มีความพึงพอใจของผู้เรียนน้อยที่สุดคือผู้เรียนจัดทำงบต้นทุนการผลิตได้เร็วกว่าเดิมค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.27 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ .047

สื่อการสอนที่ใช้

นักศึกษาเล่นเกม

ขอขอบคุณทุกท่าน