แผนยุทธศาสตร์กรมสุขภาพจิต ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ.2550-2554) ***นพ.เสรี หงษ์หยก รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กองก่อสร้างโครงการย่อย กองก่อสร้างโครงการกลาง กองก่อสร้างโครงการใหญ่
Advertisements

นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
การส่งเสริมศักยภาพ การคุ้มครอง พิทักษ์สิทธิประชาชนในแต่ละ กลุ่มเป้าหมาย โดยการกำหนด มาตรการ กลไก ส่งเสริมสนับสนุน ภาครัฐและเอกชนในการดำเนินการ ตามนโยบายและมาตรการที่กำหนด.
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การจัดทำแผนปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กันยายน 2557.
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
สำนักประสานและติดตามนโยบาย สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
๑ ทศวรรษของ สถาบัน. ๑ ) ด้านการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนา บุคลากรด้านการพัฒนามนุษย์ ๒ ) ผลิตและเผยแพร่ความรู้ด้านการ พัฒนามนุษย์ ๓ ) บริการสาธิตและวิจัยโดยศูนย์พัฒนา.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
แผนที่ยทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรที่มุ่งส่งเสริม สร้างเครือข่าย.
1 สบช.. 2 เอกสารข้อมูล สถานการณ์ / ผลการ ดำเนินงานสบช. - สถานการณ์ - ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับ การดำเนินงานสบช. - GAP ( อดีต / ปัจจุบัน / อนาคต ) ความคิดเห็นผู้บริหาร.
วิสัยทัศน์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ สิ่งสำคัญที่ต้องทำ ให้บรรลุ เพื่อตอบสนอง วิสัยทัศน์ เป้าประสง ค์ หลัก ประสิทธิภ าพ ผลสำเร็จ สูงสุดของ องค์กรซึ่ง ประชาชน.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
ทิศทางการนำระบบบริหาร จัดการคลังข้อสอบ และการทดสอบมาตรฐานฝีมือ แรงงาน ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์สู่หน่วย ปฏิบัติ โดย วรรณี โกมลกวิน ผู้อำนวยการกลุ่มงานกำหนด.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
คณะกรรมการปรับปรุงยุทธศาสตร์ฯ
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
(ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี พ.ศ –2579)
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพ แบบบูรณาการ เขตสุขภาพที่ 6
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
เวลา น. เป็นต้นไป ณ ห้องประชุมสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ ชั้น 9
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
กำหนดการ Work shop -ชี้แจงวัตถุประสงค์ ร่วมเรียนรู้ ร่วมลด CAP ลดซ้ำซ้อน และเสริมพลัง -รับฟังการนำเสนอผลการประเมินตนเองและทำแผนปรับปรุงตนเองและสรุปปัญหาที่ต้อง.
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
แผนงานการพัฒนาองค์กรคุณภาพ
กิจกรรมหลัก ภาคกลาง 12กันยายน 2560
แนวทางการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปี 2562
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
การขับเคลื่อนนโยบายกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แผนยุทธศาสตร์กรมสุขภาพจิต ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ.2550-2554) ***นพ.เสรี หงษ์หยก รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต

ที่มาของยุทธศาสตร์ / มาตรการการดำเนินงานสุขภาพจิตในช่วงแผนฯ 10 เอกสารข้อมูลสถานการณ์ / ผลการดำเนินงานสุขภาพจิต ความคิดเห็นผู้บริหาร / ผู้ปฏิบัติ ในกระทรวงสาธารณสุข / แกนนำประชาชน ทบทวนเอกสาร สำรวจ สำรวจ สถานการณ์ / ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับ การดำเนินงานสุขภาพจิต / GAP (อดีต / ปัจจุบัน / อนาคต) SWOT ทิศทาง การพัฒนางานสุขภาพจิต 5 ปี / 10 ปี วิเคราะห์ สังเคราะห์ (ร่าง) ยุทธศาสตร์ / มาตรการกรมสุขภาพจิต ในช่วงระยะ 5 ปี / 10 ปี ประชุมเชิงปฏิบัติการ สัมมนาประชาพิจารณ์ ยุทธศาสตร์ / มาตรการ / แนวทาง ตัวชี้วัด / เป้าหมายของแผนยุทธศาสตร์กรมสุขภาพจิต กลั่นกรอง นโยบายรายปี ประชุมเชิงปฏิบัติการ แผนงาน / โครงการ

พันธกิจ..... 1. ศึกษา วิจัย พัฒนาองค์ความรู้และเทคโนโลยี ด้านการส่งเสริม ป้องกัน บำบัดรักษา และฟื้นฟูสมรรถภาพสุขภาพจิต 2. ถ่ายทอดองค์ความรู้ และเทคโนโลยีด้านการส่งเสริม ป้องกัน บำบัดรักษา และฟื้นฟูสมรรถภาพด้านสุขภาพจิต 3. บริการสุขภาพจิตที่มีคุณภาพมาตรฐาน เป็นธรรม และทันต่อสถานการณ์แก่ผู้ป่วยที่มีปัญหารุนแรง ยุ่งยากซับซ้อน

ผู้ป่วยรุนแรง ยุ่งยาก พันธกิจ ***** ผลิต ศึกษา , วิจัย , พัฒนา องค์ความรู้ บริการ คุณภาพ มาตรฐาน เป็นธรรม ทันการ ผู้ป่วยรุนแรง ยุ่งยาก ซับซ้อน ถ่ายทอด องค์ความรู้

วิสัยทัศน์ กรมสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิตจะเป็นองค์กรมาตรฐานการพัฒนาสุขภาพจิต ทั้งด้านการส่งเสริม ป้องกัน รักษา และฟื้นฟู เป็นศูนย์กลางข้อมูลสารสนเทศ องค์ความรู้ ตลอดจนเทคโนโลยี ด้านสุขภาพจิตของประเทศเป็นศูนย์กลางประสานงาน ความร่วมมือทางวิชาการสุขภาพจิต ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นองค์กรที่มีการบริหารที่ดีเยี่ยม มีขนาดกะทัดรัด คล่องตัว มีบุคลากรที่มีคุณภาพ เพื่อความสุขที่ยั่งยืนของสังคมไทย

วิสัยทัศน์ เพื่อความสุขที่ยั่งยืนของสังคมไทย บริการ วิชาการ บริหาร ***** เพื่อความสุขที่ยั่งยืนของสังคมไทย บริการ องค์กรมาตรฐาน ด้านบริการ 4 มิติ วิชาการ ศูนย์กลางองค์ความรู้ ด้านสุขภาพจิตของประเทศ และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ คุณภาพ เป็นธรรม ทันการแก้ปัญหารุนแรง ยุ่งยากซับซ้อน บริหาร ศูนย์กลางสารสนเทศ บริหารดีเยี่ยม บุคลากรมีคุณภาพ ศึกษา / วิจัย / พัฒนา ถ่ายทอด

ยุทธศาสตร์กรมสุขภาพจิต ที่มายุทธศาสตร์กรมสุขภาพจิตในช่วงแผนพัฒนาฯฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550 - 2554) จุดแข็ง โอกาส ราชวงศ์/รัฐบาลสนับสนุน O1 S5 ร.พ.จิตเวชมีทุกภาค สังคมเห็นความสำคัญ O2 S4 องค์ความรู้หลากหลาย เครือข่ายเข้มแข็ง O3 กม.สุขภาพจิตช่วยขับเคลื่อนงาน O4 S3 ผู้นำมุ่งมั่น/บุคลากรเชี่ยวชาญ ยุทธศาสตร์กรมสุขภาพจิต สุขภาพจิตเกี่ยวข้องกับมนุษย์เกิด->ตาย O5 S2 บทบาทหลักดูแลสุขภาพจิตประชาชน S1 ศูนย์เขต/ร.พ.จิตเวชประสานเครือข่าย ประชาชนไม่เข้าใจ/ยอมรับผู้ป่วย T1 W1 บริหารจัดการทรัพยากรไม่เหมาะสม W2 ตัวชี้วัด/ฐานข้อมูลไม่ครอบคลุม ปัญหาสุขภาพจิตเกิดจากปัจจัยหลายๆด้าน T2 W3 นโยบาย/การบริหารงานไม่มีประสิทธิภาพ ผู้บริหารกระทรวง/จังหวัดให้ความสำคัญน้อย T3 W4 ขาดมาตรฐานงานวิจัย/พัฒนา สื่อกระตุ้นสังคมเกิดปัญหาสุขภาพจิตมากขึ้น T4 W5 ภาระรับผู้ป่วย Walk-in ภัยคุกคาม จุดอ่อน

แผนที่ยุทธศาสตร์กรมสุขภาพจิต (Strategic Map) ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ.2550 – 2554)

เพื่อความสุขที่ยั่งยืน ประชาชนมีสุขภาพจิตที่ดี เป้าประสงค์ ยุทธศาสตร์ที่ 1 เสริมสร้างศักยภาพของประชาชนในการดูแลสุขภาพจิต เข้าถึงบริการสุขภาพจิต และให้โอกาสผู้ที่อยู่กับปัญหาสุขภาพจิต 1. ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ทัศนคติ ที่ถูกต้องเกี่ยวกับสุขภาพจิตและผู้ที่อยู่กับปัญหาสุขภาพจิตได้รับการดูแลสุขภาพจิต รวมทั้งได้รับการยอมรับในการดำรงชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคม - รณรงค์สร้างความตระหนักและความรู้แก่ประชาชน - ผลักดันให้สังคมยอมรับ / ให้โอกาสผู้ที่อยู่กับปัญหาสุขภาพจิต - สนับสนุนการเข้าถึงบริการสุขภาพจิต เป้าประสงค์ ยุทธศาสตร์ที่ 2 ส่งเสริมและพัฒนาภาคีเครือข่ายทั้งในและนอกระบบสาธารณสุขในการดำเนินงานสุขภาพจิต 2. เครือข่ายมีการบูรณาการงานสุขภาพจิต เข้ากับงานของตนเอง และสามารถให้การดูแลสุขภาพจิตแก่ประชาชนได้อย่างต่อเนื่องและยั่งยืน - พัฒนาเครือข่ายในระบบบริการสาธารณสุข - สร้างและพัฒนาเครือข่ายนอกระบบบริการสาธารณสุข เป้าประสงค์ ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาความเชี่ยวชาญสู่การเป็นศูนย์กลางทางวิชาการด้านสุขภาพจิต ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาคุณภาพมาตรฐานและความเป็นเลิศเฉพาะทางด้านบริการจิตเวช 3. กรมสุขภาพจิตเป็นศูนย์กลางการพัฒนาวิชาการ ด้านสุขภาพจิต ทั้งในระดับประเทศและในระดับ ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 4. หน่วยบริการจิตเวชมีมาตรฐาน เป็นที่ยอมรับ ในระดับประเทศ จัดตั้งคลังความรู้ทางวิชาการด้านสุขภาพจิต - พัฒนามาตรฐานและคุณภาพ งานวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้ - ศึกษา วิจัย และพัฒนาองค์ความรู้ - พัฒนาการถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านสุขภาพจิตในรูปแบบที่หลากหลาย - พัฒนาความร่วมมือทางวิชาการด้านสุขภาพจิตทั้งในและต่างประเทศ - พัฒนาคุณภาพมาตรฐานตามเกณฑ์ HA - พัฒนามาตรฐานในระดับตติยภูมิ - พัฒนาความเป็นเลิศเฉพาะทาง (Excellence Center) เป้าประสงค์ ยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนาความสามารถในการเพิ่มประสิทธิภาพของการบริหารองค์กรและสมรรถนะบุคลากร 5. การบริหารองค์กรและสมรรถนะบุคลากร มีประสิทธิภาพ - บังคับใช้กฎหมายสุขภาพจิต เพื่อขับเคลื่อนงานสุขภาพจิต - พัฒนาระบบสารสนเทศสุขภาพจิต - พัฒนากระบวนการบริหารจัดการและการสื่อสารนโยบายฯ - พัฒนาประสิทธิภาพขององค์กร - พัฒนาสมรรถนะของบุคลากร

ปัจจัยแห่งความสำเร็จนำมาสู่วิสัยทัศน์แต่ละด้าน องค์กรมาตรฐาน ด้านบริการจิตเวช ที่เชื่อถือได้ดีของประเทศ บริการเป็นองค์กร คุณภาพ มาตรฐาน เป็นธรรม ทันการ ดูแลผู้ป่วย มีปัญหารุนแรง ยุ่งยากซับซ้อน เกณฑ์ HA มาตรฐานตติยภูมิ และความเป็นเลิศเฉพาะทาง ลดจำนวนผู้ป่วย Walk in & Refer ที่ไม่จำเป็น พัฒนาเครือข่ายบริการด้านสาธารณสุข ( อบรม / ถ่ายทอด / ผลิต ) สนับสนุน ประสาน

ปัจจัยแห่งความสำเร็จนำมาสู่วิสัยทัศน์แต่ละด้าน วิชาการ ศูนย์กลางองค์ความรู้ ด้านสุขภาพจิตของประเทศ และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดย ศึกษา / วิจัย / พัฒนาและถ่ายทอด มีมาตรฐาน คุณภาพ งานวิจัย / พัฒนาองค์ความรู้ ศึกษา / วิจัย / พัฒนาตามเกณท์มาตรฐาน คลังองค์ความรู้ มาตรฐาน / อ้างอิงได้ เข้าถึง / ถ่ายทอดหลากหลายรูปแบบ ความร่วมมือทางวิชาการ ใน / ต่างประเทศ เครือข่าย / ภาคี ประชาชนและกลุ่มเป้าหมาย

ปัจจัยแห่งความสำเร็จนำมาสู่วิสัยทัศน์แต่ละด้าน พัฒนาระบบ – สารสนเทศ - การจัดการ / สื่อสาร บริหาร ศูนย์กลางสารสนเทศ บริหารดีเยี่ยม บุคลากรมีคุณภาพ พัฒนาบุคลากร กฎหมายสุขภาพจิต พัฒนาประสิทธิภาพองค์กร ( ISO , PMQA ) แรงขับเคลื่อน

ปัจจัยแห่งความสำเร็จนำมาสู่วิสัยทัศน์แต่ละด้าน ผสมผสานงานสุขภาพจิต / จิตเวช เข้ากับงานปกติสู่ประชาชน ครอบคลุม ยั่งยืน เครือข่าย / ภาคีด้านสุขภาพจิต ส่งเสริม พัฒนา ผลิต สนับสนุน - เครือข่ายเข้มแข็ง / โครงสร้างเอื้ออำนวย - ปริมาณมาก / กระจายทั่ว บริการ วิชาการ บริหาร กรมสุขภาพจิต เป็น Function base และบุคลากรจำกัด

ปัจจัยแห่งความสำเร็จนำมาสู่วิสัยทัศน์แต่ละด้าน มีสุขภาพจิตดีโดยรวม ภาพลักษณ์ของ กรมสุขภาพจิต ความสุขที่ยั่งยืน ยอมรับ / ดูแล / อยู่ร่วมกัน เข้าถึงบริการ ลดปัญหา ผู้ที่อยู่กับปัญหา สุขภาพจิต ปกติ กลุ่มเสี่ยง ลดภาระโรค ประชาชน ( บุคคล / ครอบครัว / ชุมชน ) บูรณาการงานสุขภาพจิตทุกมิติ (ครอบคลุม / ยั่งยืน) เครือข่ายในระบบสาธารณสุขและนอกสาธารณสุข

ปัจจัยความสำเร็จของแผนยุทธศาสตร์กรมสุขภาพจิต ในช่วงแผนฯ 10

ประสิทธิภาพองค์กร/บุคลากร ที่มายุทธศาสตร์กรมสุขภาพจิตในช่วงแผนพัฒนาฯฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550 - 2554) จุดแข็ง โอกาส กม.สุขภาพจิตช่วยขับเคลื่อนงาน O4 S3 ผู้นำมุ่งมั่น/บุคลากรเชี่ยวชาญ ยุทธศาสตร์ที่ 5 ประสิทธิภาพองค์กร/บุคลากร ภัยคุกคาม จุดอ่อน W1 บริหารจัดการทรัพยากรไม่เหมาะสม W2 ตัวชี้วัด/ฐานข้อมูลไม่ครอบคลุม W3 นโยบาย/การบริหารงานไม่มีประสิทธิภาพ

กระบวนการ พื้นฐาน ยุทธศาสตร์ที่ 4 ยุทธศาสตร์ที่ 3 ยุทธศาสตร์ที่ 5 ในกรมฯ Excellence Center Tertiary Care 3๐ มาตรฐาน วิจัย/องค์ความรู้ คลังความรู้ HA KSF KSF KSF KSF KSF ยุทธศาสตร์ที่ 4 กระบวนการ ยุทธศาสตร์ที่ 3 คุณภาพมาตรฐานและความเป็นเลิศ ด้านบริการจิตเวช ศูนย์กลางทางวิชาการ Core Competency& Technical Competency กฎหมายสุขภาพจิต ฐานข้อมูล ISO & PMQA KSF KSF KSF KSF ยุทธศาสตร์ที่ 5 พื้นฐาน ประสิทธิภาพการบริหารองค์กรและสมรรถนะบุคลากร

ความเป็นเลิศบริการจิตเวช ที่มายุทธศาสตร์กรมสุขภาพจิตในช่วงแผนพัฒนาฯฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550 - 2554) จุดแข็ง โอกาส S5 ร.พ.จิตเวชมีทุกภาค กม.สุขภาพจิตช่วยขับเคลื่อนงาน O4 S3 ผู้นำมุ่งมั่น/บุคลากรเชี่ยวชาญ ยุทธศาสตร์ที่ 4 ความเป็นเลิศบริการจิตเวช ภัยคุกคาม จุดอ่อน W5 ภาระรับผู้ป่วย Walk-in

กระบวนการ พื้นฐาน ยุทธศาสตร์ที่ 4 ยุทธศาสตร์ที่ 3 ยุทธศาสตร์ที่ 5 ในกรมฯ Excellence Center Tertiary Care 3๐ มาตรฐาน วิจัย/องค์ความรู้ คลังความรู้ HA KSF KSF KSF KSF KSF ยุทธศาสตร์ที่ 4 กระบวนการ ยุทธศาสตร์ที่ 3 คุณภาพมาตรฐานและความเป็นเลิศ ด้านบริการจิตเวช ศูนย์กลางทางวิชาการ Core Competency& Technical Competency กฎหมายสุขภาพจิต ฐานข้อมูล ISO & PMQA KSF KSF KSF KSF ยุทธศาสตร์ที่ 5 พื้นฐาน ประสิทธิภาพการบริหารองค์กรและสมรรถนะบุคลากร

ยุทธศาสตร์ที่ 3 จุดแข็ง โอกาส ภัยคุกคาม จุดอ่อน ที่มายุทธศาสตร์กรมสุขภาพจิตในช่วงแผนพัฒนาฯฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550 - 2554) จุดแข็ง โอกาส สังคมเห็นความสำคัญ O2 S4 องค์ความรู้หลากหลาย S3 ผู้นำมุ่งมั่น/บุคลากรเชี่ยวชาญ ยุทธศาสตร์ที่ 3 ศูนย์กลางวิชาการ ภัยคุกคาม จุดอ่อน สื่อกระตุ้นสังคมเกิดปัญหาสุขภาพจิตมากขึ้น T4 W4 ขาดมาตรฐานงานวิจัย/พัฒนา

กระบวนการ พื้นฐาน ยุทธศาสตร์ที่ 4 ยุทธศาสตร์ที่ 3 ยุทธศาสตร์ที่ 5 ในกรมฯ Excellence Center Tertiary Care 3๐ มาตรฐาน วิจัย/องค์ความรู้ คลังความรู้ HA KSF KSF KSF KSF KSF ยุทธศาสตร์ที่ 4 กระบวนการ ยุทธศาสตร์ที่ 3 คุณภาพมาตรฐานและความเป็นเลิศ ด้านบริการจิตเวช ศูนย์กลางทางวิชาการ Core Competency& Technical Competency กฎหมายสุขภาพจิต ฐานข้อมูล ISO & PMQA KSF KSF KSF KSF ยุทธศาสตร์ที่ 5 พื้นฐาน ประสิทธิภาพการบริหารองค์กรและสมรรถนะบุคลากร

ยุทธศาสตร์ที่ 2 จุดแข็ง โอกาส ภัยคุกคาม จุดอ่อน ที่มายุทธศาสตร์กรมสุขภาพจิตในช่วงแผนพัฒนาฯฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550 - 2554) จุดแข็ง โอกาส S1 ศูนย์เขต/ร.พ.จิตเวชประสานเครือข่าย เครือข่ายเข้มแข็ง O3 ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาภาคีเครือข่าย ภัยคุกคาม จุดอ่อน ปัญหาสุขภาพจิตเกิดจากปัจจัยหลายๆด้าน T2 W5 ภาระรับผู้ป่วย Walk-in ผู้บริหารกระทรวง/จังหวัดให้ความสำคัญน้อย T3

ประชาชน เครือข่าย ยุทธศาสตร์ที่ 1 ยุทธศาสตร์ที่ 2 นอกกรมฯ ความรู้สุขภาพจิต ยอมรับผู้มีปัญหาสุขภาพจิต เข้าถึงบริการ KSF KSF KSF ยุทธศาสตร์ที่ 1 ประชาชน เสริมสร้างศักยภาพประชาชน เข้าถึงบริการและให้โอกาสผู้มีปัญหาสุขภาพจิต ในระบบบริการฯ มาตรฐานบริการสุขภาพจิต 1๐2๐ นอกระบบบริการฯ บูรณาการงานสุขภาพจิต KSF KSF เครือข่าย ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาภาคีเครือข่ายใน-นอกระบบสาธารณสุข

เสริมสร้างศักยภาพประชาชน ที่มายุทธศาสตร์กรมสุขภาพจิตในช่วงแผนพัฒนาฯฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550 - 2554) โอกาส จุดแข็ง ราชวงศ์/รัฐบาลสนับสนุน O1 S2 บทบาทหลักดูแลสุขภาพจิตประชาชน สุขภาพจิตเกี่ยวข้องกับมนุษย์ เกิด ->ตาย O5 ยุทธศาสตร์ที่ 1 เสริมสร้างศักยภาพประชาชน ภัยคุกคาม จุดอ่อน ประชาชนไม่เข้าใจ/ยอมรับผู้ป่วย T1

ประชาชน เครือข่าย ยุทธศาสตร์ที่ 1 ยุทธศาสตร์ที่ 2 นอกกรมฯ ความรู้สุขภาพจิต ยอมรับผู้มีปัญหาสุขภาพจิต เข้าถึงบริการ KSF KSF KSF ยุทธศาสตร์ที่ 1 ประชาชน เสริมสร้างศักยภาพประชาชน เข้าถึงบริการและให้โอกาสผู้มีปัญหาสุขภาพจิต ในระบบบริการฯ มาตรฐานบริการสุขภาพจิต 1๐2๐ นอกระบบบริการฯ บูรณาการงานสุขภาพจิต KSF KSF เครือข่าย ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาภาคีเครือข่ายใน-นอกระบบสาธารณสุข

ปัจจัยความสำเร็จของแผนยุทธศาสตร์กรมสุขภาพจิต ในช่วงแผนฯ 10 สังคมอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 แผนพัฒนาสุขภาพ ฉบับที่ 10 ประชาชนมีสุขภาพจิตที่ดี

ความเชื่อมโยงระหว่าง แผนยุทธศาสตร์กรมสุขภาพจิตในช่วงแผนฯ 10 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 10 และ แผนยุทธศาสตร์กรมสุขภาพจิตในช่วงแผนฯ 10

ภาคผนวก 5 ความเชื่อมโยงระหว่างแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 10 และแผนยุทธศาสตร์กรมสุขภาพจิต ในช่วงแผนฯ 10 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมฯ ฉบับที่ 10 แผนพัฒนาสุขภาพฯ ฉบับที่ 10 แผนยุทธศาสตร์กรมสุขภาพจิต ในช่วงแผนฯ 10 เป้าประสงค์ สังคมอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน ระบบสุขภาพพอเพียง ประชาชนมีสุขภาพจิตที่ดี ยุทธศาสตร์ 4. พัฒนาคุณภาพมาตรฐานและความ เป็นเลิศเฉพาะทางด้านบริการจิตเวช 1. สร้างระบบบริการสุขภาพและ การแพทย์ที่มีความสุขใจทั้งผู้ให้ และผู้รับบริการ 1. การพัฒนาคุณภาพคน และสังคมไทยสู่สังคมแห่ง ภูมิปัญญาและการเรียนรู้ 1. เสริมสร้างศักยภาพของประชาชน ในการดูแลสุขภาพจิต เข้าถึงบริการ สุขภาพจิต และให้โอกาสผู้ที่อยู่กับ ปัญหาสุขภาพจิต 2. สร้างวัฒนธรรมสุขภาพและวิถีชีวิต ที่พอเพียงเพื่อสังคมแห่งสุขภาวะ 3. สร้างภูมิคุ้มกันและความพร้อม เพื่อลดผลกระทบจากภัยคุกคาม 2. ส่งเสริมและพัฒนาภาคีเครือข่าย ทั้งในและนอกระบบสาธารณสุข ในการดำเนินงานสุขภาพจิต 2. การสร้างความเข้มแข็งของ ชุมชนและสังคมให้เป็น รากฐานที่มั่นคง ของประเทศ 5. สร้างระบบสุขภาพฐานความรู้ ด้วยการจัดการความรู้อย่างทั่วถึง 3. พัฒนาความเชี่ยวชาญสู่การเป็น ศูนย์กลางทางวิชาการด้านสุขภาพจิต 5. การเสริมสร้างธรรมาภิบาล ในการบริหารจัดการประเทศ สู่ความยั่งยืน 5.พัฒนาความสามารถในการเพิ่ม ประสิทธิภาพของการบริหารองค์กร และสมรรถนะบุคลากร 6. สร้างเอกภาพและธรรมาภิบาล ในการบริหารจัดการระบบสุขภาพ

เพื่อความสุขที่ยั่งยืน ประชาชนมีสุขภาพจิตที่ดี เป้าประสงค์ ยุทธศาสตร์ที่ 1 เสริมสร้างศักยภาพของประชาชนในการดูแลสุขภาพจิต เข้าถึงบริการสุขภาพจิต และให้โอกาสผู้ที่อยู่กับปัญหาสุขภาพจิต 1. ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ทัศนคติ ที่ถูกต้องเกี่ยวกับสุขภาพจิตและผู้ที่อยู่กับปัญหาสุขภาพจิตได้รับการดูแลสุขภาพจิต รวมทั้งได้รับการยอมรับในการดำรงชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคม - รณรงค์สร้างความตระหนักและความรู้แก่ประชาชน - ผลักดันให้สังคมยอมรับ / ให้โอกาสผู้ที่อยู่กับปัญหาสุขภาพจิต - สนับสนุนการเข้าถึงบริการสุขภาพจิต เป้าประสงค์ ยุทธศาสตร์ที่ 2 ส่งเสริมและพัฒนาภาคีเครือข่ายทั้งในและนอกระบบสาธารณสุขในการดำเนินงานสุขภาพจิต 2. เครือข่ายมีการบูรณาการงานสุขภาพจิต เข้ากับงานของตนเอง และสามารถให้การดูแลสุขภาพจิตแก่ประชาชนได้อย่างต่อเนื่องและยั่งยืน - พัฒนาเครือข่ายในระบบบริการสาธารณสุข - สร้างและพัฒนาเครือข่ายนอกระบบบริการสาธารณสุข เป้าประสงค์ ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาความเชี่ยวชาญสู่การเป็นศูนย์กลางทางวิชาการด้านสุขภาพจิต ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาคุณภาพมาตรฐานและความเป็นเลิศเฉพาะทางด้านบริการจิตเวช 3. กรมสุขภาพจิตเป็นศูนย์กลางการพัฒนาวิชาการ ด้านสุขภาพจิต ทั้งในระดับประเทศและในระดับ ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 4. หน่วยบริการจิตเวชมีมาตรฐาน เป็นที่ยอมรับ ในระดับประเทศ จัดตั้งคลังความรู้ทางวิชาการด้านสุขภาพจิต - พัฒนามาตรฐานและคุณภาพ งานวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้ - ศึกษา วิจัย และพัฒนาองค์ความรู้ - พัฒนาการถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านสุขภาพจิตในรูปแบบที่หลากหลาย - พัฒนาความร่วมมือทางวิชาการด้านสุขภาพจิตทั้งในและต่างประเทศ - พัฒนาคุณภาพมาตรฐานตามเกณฑ์ HA - พัฒนามาตรฐานในระดับตติยภูมิ - พัฒนาความเป็นเลิศเฉพาะทาง (Excellence Center) เป้าประสงค์ ยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนาความสามารถในการเพิ่มประสิทธิภาพของการบริหารองค์กรและสมรรถนะบุคลากร 5. การบริหารองค์กรและสมรรถนะบุคลากร มีประสิทธิภาพ - บังคับใช้กฎหมายสุขภาพจิต เพื่อขับเคลื่อนงานสุขภาพจิต - พัฒนาระบบสารสนเทศสุขภาพจิต - พัฒนากระบวนการบริหารจัดการและการสื่อสารนโยบายฯ - พัฒนาประสิทธิภาพขององค์กร - พัฒนาสมรรถนะของบุคลากร

เป้าประสงค์หลัก ของแผนยุทธศาสตร์กรมสุขภาพจิต ในช่วงแผนฯ 10 ประชาชนมีสุขภาพจิตที่ดี มีความรู้ ความเข้าใจ ในความสำคัญของสุขภาพจิต มีทัศนคติที่ดีต่อผู้ที่อยู่กับปัญหา สุขภาพจิต สามารถดูแลและจัดการกับปัญหาสุขภาพจิต ทั้งของตนเอง ครอบครัว และผู้อื่นในชุมชนได้ อันจะนำไปสู่การอยู่ร่วมกัน ในสังคมได้อย่างมีความสุขที่ยั่งยืน

ตัวชี้วัด เป้าประสงค์หลัก เมื่อสิ้นสุดแผนฯ(ปี 2554) ตัวชี้วัด เป้าประสงค์หลัก เมื่อสิ้นสุดแผนฯ(ปี 2554) 1. ประชาชนร้อยละ 70 มีสุขภาพจิตที่ดี 2. ประชาชนร้อยละ 70 มีความสามารถในการจัดการ กับความเครียดได้อย่างเหมาะสม 3. อัตราการฆ่าตัวตายไม่เกิน 6.5 ต่อแสนประชากร

เป้าประสงค์รองที่ 1 ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ทัศนคติที่ถูกต้องเกี่ยวกับสุขภาพจิตและผู้ที่อยู่กับปัญหาสุขภาพจิตได้รับการดูแลสุขภาพจิต รวมทั้งได้รับการยอมรับในการดำรงชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคม ยุทธศาสตร์ที่ 1 เสริมสร้างศักยภาพของประชาชนในการดูแลสุขภาพจิต เข้าถึงบริการสุขภาพจิตและให้โอกาสผู้ที่อยู่กับปัญหาสุขภาพจิต เป้าหมายยุทธศาสตร์ (เมื่อสิ้นสุดปี 2554) ร้อยละ 70 ของประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ และทัศนคติที่ ถูกต้องเกี่ยวกับสุขภาพจิต

มาตรการ ตัวชี้วัด / เป้าหมาย 1.1 รณรงค์สร้างความตระหนักส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจ และทัศนคติที่ถูกต้อง 1.2 ผลักดันให้สังคมยอมรับ / ให้โอกาสผู้ที่อยู่กับปัญหาสุขภาพจิตได้เข้ามามีส่วนร่วมในวิถีชีวิต / การทำงาน / กิจกรรมต่างๆ 1.3 สนับสนุนให้ประชาชนและ ผู้ที่อยู่กับปัญหาสุขภาพจิตเข้าถึงบริการสุขภาพจิต - ปีละ 1 เรื่อง - ในภูมิภาค ปีละ 750 หมู่บ้าน - ในกทม. ปีละ 4 ชุมชน / 2 เขต - ประชาชนและผู้ที่อยู่กับปัญหาสุขภาพจิตเข้าถึงบริการสุขภาพจิต (ปี 2552 = 30% / ปี 2554 = 40%)

เป้าประสงค์รองที่ 2 เครือข่ายมีการบูรณาการงานสุขภาพจิต เข้ากับงานของตนเอง และสามารถให้การดูแลสุขภาพจิต แก่ประชาชนได้อย่างต่อเนื่อง และยั่งยืน

ยุทธศาสตร์ที่ 2 ส่งเสริมและพัฒนาภาคีเครือข่ายในและนอกระบบสาธารณสุข ในการดำเนินงานสุขภาพจิต เป้าหมายยุทธศาสตร์ (เมื่อสิ้นสุดปี 2554) - เครือข่ายบริการสาธารณสุขมีบริการสุขภาพจิตตามเกณฑ์มาตรฐาน งานบริการสุขภาพจิตและจิตเวช (เกณฑ์จะเริ่มใช้ในปี 2550) - รพศ. / รพท. 50 % - รพช. 30 % - PCU / สอ. 10 % - ร้อยละ 30 ของเครือข่ายนอกระบบบริการสาธารณสุขที่ได้รับการพัฒนา / ประสานงานมีการบูรณาการงานสุขภาพจิตเข้ากับงานของตน

มาตรการ ตัวชี้วัด / เป้าหมาย 2.1 พัฒนาเครือข่ายการดำเนินงานสุขภาพจิตในระบบบริการสาธารณสุข 2.2 สร้างและพัฒนาเครือข่าย การดำเนินงานสุขภาพจิตนอกระบบ บริการสาธารณสุข - รพศ. / รพท. 20% ในปี 2551 และเพิ่มปีละ 20% - รพช. 20% ในปี 2551 และเพิ่ม ปีละ 10% - PCU / สอ. 10% ในปี 2552 และเพิ่มปีละ 10% - ปีละ 10 แห่ง

เป้าประสงค์รองที่ 3 กรมสุขภาพจิตเป็นศูนย์กลางการพัฒนาวิชาการด้านสุขภาพจิต ทั้งในระดับประเทศและในระดับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาความเชี่ยวชาญสู่การเป็น ศูนย์กลางทางวิชาการด้านสุขภาพจิต เป้าหมายยุทธศาสตร์ (เมื่อสิ้นสุดปี 2554) หน่วยงานในสังกัดกรมสุขภาพจิต จำนวน 3 แห่ง เป็นศูนย์กลาง การศึกษาดูงาน และฝึกอบรมด้านสุขภาพจิต ทั้งในระดับประเทศ และในระดับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

มาตรการ ตัวชี้วัด / เป้าหมาย 3.1 จัดตั้งคลังความรู้ทางวิชาการด้านสุขภาพจิต 3.2 พัฒนามาตรฐานและคุณภาพงานวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้ด้านสุขภาพจิต - ภายในปี 2551 มีคลังความรู้ ทางวิชาการด้านสุขภาพจิต ที่ผ่านการวิเคราะห์ /สังเคราะห์อย่างเป็นระบบและพัฒนาให้ทันสมัยอย่างต่อเนื่อง โดยกลุ่มเป้าหมายสามารถเข้าถึงได้ - ภายในปี 2550 มีมาตรฐาน การปฏิบัติงานวิจัยและพัฒนา องค์ความรู้

มาตรการ ตัวชี้วัด / เป้าหมาย 3.3 ศึกษา วิจัย และพัฒนาองค์ความรู้ด้านสุขภาพจิตตามมาตรฐานฯ และกรอบทิศทางการวิจัยด้านสุขภาพจิต 3.4 พัฒนาการถ่ายทอด องค์ความรู้ด้านสุขภาพจิตในรูปแบบที่หลากหลายผ่านช่องทางการสื่อสารสาธารณะสู่กลุ่มเป้าหมายอย่างต่อเนื่อง - งานวิจัย / องค์ความรู้ มีคุณภาพมาตรฐาน (ปี 2551 = 20% และเพิ่มขึ้นปีละ 10%) - กลุ่มเป้าหมายมีความพึงพอใจในรูปแบบและช่องทางการถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านสุขภาพจิต (ปี 2550 - 2551 = 70%, ปี 2552 - 2553 = 75%, ปี 2554 = 80%)

มาตรการ ตัวชี้วัด / เป้าหมาย 3.5 พัฒนาความร่วมมือทางวิชาการด้านสุขภาพจิตกับองค์กรที่เกี่ยวข้องทั้งในและต่างประเทศ - มีองค์กรทั้งในและต่างประเทศ ที่ประสานความร่วมมือ ทางด้านวิชาการสุขภาพจิต อย่างต่อเนื่อง (ปี 2550 = 2 แห่ง และเพิ่มขึ้นอีก ปีละ 2 แห่ง)

หน่วยบริการจิตเวช จำนวน 3 แห่ง มีความเป็นเลิศเฉพาะทาง เป้าประสงค์รองที่ 4 หน่วยบริการจิตเวชมีมาตรฐาน เป็นที่ยอมรับในระดับประเทศ ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาคุณภาพมาตรฐาน และความเป็นเลิศเฉพาะทาง ด้านบริการจิตเวช เป้าหมายยุทธศาสตร์ หน่วยบริการจิตเวช จำนวน 3 แห่ง มีความเป็นเลิศเฉพาะทาง

มาตรการ ตัวชี้วัด / เป้าหมาย 4.1 พัฒนาหน่วยบริการจิตเวชให้มีคุณภาพมาตรฐาน 4.2 พัฒนาหน่วยบริการจิตเวชให้มีมาตรฐานในระดับตติยภูมิ - หน่วยบริการจิตเวชผ่านการรับรองคุณภาพมาตรฐาน HA (ปี 2550 = 10 แห่ง / ปี 2551 = 14 แห่ง / ปี 2552 = 17 แห่ง และ ปี 2553 – 2554 ดำเนินการรักษาคุณภาพมาตรฐานอย่างต่อเนื่อง) - หน่วยบริการจิตเวชผ่านเกณฑ์มาตรฐานในระดับตติยภูมิในขั้นที่ 3 (ปี 2553 = 2 แห่ง และเพิ่มอีก 2 แห่ง ในปี 2554)

มาตรการ ตัวชี้วัด / เป้าหมาย 4.3 พัฒนาความเป็นเลิศในการบริการจิตเวชเฉพาะทาง (Excellence Center) - หน่วยบริการจิตเวชผ่านเกณฑ์มาตรฐานบริการจิตเวชเฉพาะทาง (Excellence Center) (ปี 2552 = 1 แห่ง และปี 2553 - 2554 เพิ่มขึ้นอีกปีละ 1 แห่ง)

เป้าหมายยุทธศาสตร์ (เมื่อสิ้นสุดปี 2554) เป้าประสงค์รองที่ 5 การบริหารองค์กรและสมรรถนะบุคลากรมีประสิทธิภาพ ยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนาความสามารถในการเพิ่มประสิทธิภาพ ของการบริหารองค์กร และสมรรถนะบุคลากร เป้าหมายยุทธศาสตร์ (เมื่อสิ้นสุดปี 2554) กรมสุขภาพจิตได้รับคะแนนจากการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของ กพร. ไม่ต่ำกว่า 4.5 คะแนน

มาตรการ ตัวชี้วัด / เป้าหมาย 5.1 บังคับใช้กฎหมายสุขภาพจิตเพื่อเป็นแรงขับเคลื่อนการดำเนินงานสุขภาพจิต 5.2 พัฒนาระบบสารสนเทศสุขภาพจิตในระดับประเทศ กฎหมายสุขภาพจิตมีผลบังคับใช้ ภายในปี 2551 - ภายในปี 2554 มีฐานข้อมูลสุขภาพจิตระดับประเทศที่มี ความครอบคลุม ทันสมัย และสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ ทั้งสิ้น 42 ฐานข้อมูล

มาตรการ ตัวชี้วัด / เป้าหมาย 5.3 พัฒนากระบวนการบริหารจัดการและการสื่อสารนโยบายและยุทธศาสตร์สุขภาพจิต หน่วยงานในสังกัดกรมฯ มีการดำเนินงานเป็นไปตามนโยบาย และแผนของกรมฯ ในแต่ละปี (ปี 2550 - 2551 = 70%, ปี 2552 - 2553 = 75%, ปี 2554 = 80%)

มาตรการ ตัวชี้วัด / เป้าหมาย - กรมฯ มีการพัฒนา คุณภาพมาตรฐาน PMQA อย่างต่อเนื่องเป็นประจำ ทุกปี 5.4 พัฒนาประสิทธิภาพขององค์กรตามหลักเกณฑ์ และวิธีการบริหารบ้านเมืองที่ดี 5.5 พัฒนาสมรรถนะของบุคลากรให้สอดคล้องกับภารกิจของกรมฯ

การประเมินอย่างต่อเนื่อง การโยงกับการปรับปรุง อธิบายความสมเหตุสมผล Measurement Methodology การเตรียมตัว เราจะวัดอะไร? การประเมินอย่างต่อเนื่อง การพัฒนา & ปรับปรุง พัฒนาเทคนิคการวัดผล การโยงกับการปรับปรุง การรวมรวมข้อมูล อธิบายความสมเหตุสมผล

การแปลงยุทธศาสตร์สู่นโยบายเพื่อมุ่งสู่เป้าหมาย นโยบาย ยุทธศาสตร์กรมสุขภาพจิต ในช่วงแผนฯ 10 (ปี 2550 – 2554) นโยบาย ปี 50 ปี 50 ปี 51 ปี 51 ปี 52 ปี 51 ปี 52 ปี 52 ปี 53 ปี 53 ปี 54 ปี 53 ประเมิน ประเมิน

นโยบายสุขภาพจิตประจำปี 2550 - 2551 HA พัฒนาต่อเนื่องครบทุกแห่งภายในปี 52 ในกรมฯ คุณภาพ มาตรฐาน ตติยภูมิ มาตรฐาน (ปี 50) -> พัฒนา (ปี 51) Excellence Center มาตรฐาน (ปี 50) -> พัฒนา (ปี 51) มาตรฐานปฐมภูมิและทุติยภูมิ (ปี 50) - > พัฒนา (ปี 51) บริการ ในระบบ พัฒนาศักยภาพบุคลากรใน รพศ. / รพท. สนับสนุนการศึกษาต่อเนื่อง เครือข่าย บูรณาการงานสุขภาพจิต ความร่วมมือ นอกระบบบริการ สร้างการยอมรับผู้มีปัญหาสุขภาพจิต ทำเนียบแหล่งบริการสุขภาพจิตของประเทศ (ปี 50) ->ประชาสัมพันธ์ (ปี 51)

นโยบายสุขภาพจิตประจำปี 2550 - 25510 ห้องสมุดกรมฯ คลังความรู้ ระบบอิเล็กทรอนิกส์ 1. จัดทำมาตรฐาน (ปี 50) 2. สร้างองค์ความรู้ใหม่ที่ได้มาตรฐาน วิชาการ วิจัย/องค์ความรู้ 3. พัฒนาเครือข่ายนักวิจัย รูปแบบ/ช่องทางที่เหมาะสม + ครอบคลุม 4. ถ่ายทอด รณรงค์เน้นสัมพันธภาพครอบครัว (ปี 50) ความรุนแรงและพฤติกรรม ไม่เหมาะสมในวัยรุ่น (ปี 51) ความต่อเนื่อง เครือข่าย แผนแม่บทความร่วมมือระหว่างประเทศ (ปี 50)

นโยบายสุขภาพจิตประจำปี 2550 - 2551 ฐานข้อมูลระดับประเทศ การสื่อสารนโยบาย+ ยุทธศาสตร์ กฎหมายสุขภาพจิต ระบบการติดตาม ประเมินผล บริหาร ปรับปรุงโครงสร้าง/ อัตรากำลัง ISO องค์กร PMQA KM Core Competency สมรรถนะบุคลากร Technical Competency

นโยบายสุขภาพจิตประจำปี 2550 - 2551 ยาเสพติด (To Be Number One) กลุ่มวัยรุ่น พฤติกรรมรุนแรง IQ / EQ พฤติกรรมทางเพศ กลุ่มเด็ก ปัญหาพัฒนาการ / ออทิสติก กลุ่มวัยทำงาน/ครอบครัว บูรณาการงานสุขภาพจิตในเครือข่ายชุมชน การดำเนินงานป้องกันและ แก้ไขปัญหาสุขภาพจิต สุขภาพจิตครอบครัว กลุ่มสูงอายุ กลุ่มผู้ป่วยจิตเวช สุขภาพจิตผู้สูงอายุ กลุ่มเสี่ยง คืนชีวิตใหม่ MCC / MCC 4 จังหวัดชายแดนภาคใต้ เครือข่ายสนับสนุนค้ำจุน วิกฤต ภัยพิบัติ 6 จังหวัดภาคใต้ การดูแลผู้ป่วยจิตเภท ซึมเศร้า / ฆ่าตัวตาย ฟื้นฟูสมรรถภาพ

ผู้นำที่ดีที่สุด คือ ผู้ปฏิบัติครบ 4 มิติ ผู้นำที่ดีที่สุด คือ ผู้ปฏิบัติครบ 4 มิติ วิสัยทัศน์ ความเป็นจริง จริยธรรม และความกล้า นี่คือความฉลาดทั้งสี่ประการเป็นการรับรู้ในสี่รูปแบบเป็นภาษาต่างๆ ที่จำเป็นสำหรับการสื่อสาร เพื่อให้บังเกิดผลที่มีความหมาย และยั่งยืน ผู้นำที่มีวิสัยทัศน์ย่อมคิดการณ์ใหญ่ คิดแบบใหม่ คิดล่วงหน้า ที่สำคัญที่สุด คือ เข้าถึงโครงสร้างลึกของจิตสำนึก และศักยภาพในการสร้างสรรค์ของมนุษย์ *ปีเตอร์ คอสเท็นโบม นักปรัชญาด้านจัดการ