แนวทางการดำเนินงานเพื่อผู้สูงอายุ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์
ชุมชนนักปฏิบัติ CoP “การปฏิบัติงานด้านการเงิน” เริ่มก่อตั้งแต่ปี
สถานการณ์และการเตรียมความพร้อม การป้องกันอุบัติเหตุทางถนน
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
สถานการณ์ส้วมสาธารณะในกรุงเทพมหานคร
เป้าหมาย ร้อยละ 98 ตัวชี้วัด ยุทธศาสตร์ที่ 2 บริการเฉพาะ ข้อที่ 25 ร้อยละความสำเร็จของข้อร้องเรียนของผู้บริโภค ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ ได้รับการแก้ไขภายในระยะเวลาตามที่กำหนด.
สรุปการรายงานผลการ ประชาสัมพันธ์ ผ่านสื่อประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2555.
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
สรุปการรายงานผลการประชาสัมพันธ์ ผ่านสื่อประจำเดือนพฤษภาคม 2555
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ยีน อาชีพ อาหาร น้ำ สิ่งแวดล้อม พฤติกรรม สุขภาพ ความเป็น ชุมชน ความ ยุติธรรม ความ ปลอดภัย สันติภาพ จิตใจ การเรียนรู้ ระบบ บริการ ผู้สูงอายุ คนชายขอบ ผู้ใช้แรงงาน.
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
สถานการณ์และการเตรียมความพร้อม การป้องกันอุบัติเหตุทางถนน
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพ ด้านพัฒนาระบบการคุ้มครองผู้บริโภค
กลุ่มบริหารงานทั่วไป
แผนงานย่อย “น้ำมันทอดซ้ำเสื่อมสภาพ”
๑ ทศวรรษของ สถาบัน. ๑ ) ด้านการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนา บุคลากรด้านการพัฒนามนุษย์ ๒ ) ผลิตและเผยแพร่ความรู้ด้านการ พัฒนามนุษย์ ๓ ) บริการสาธิตและวิจัยโดยศูนย์พัฒนา.
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
ประวัติ ส่วนตัว ชื่อ นางสาวสุภาวรรณ อินสวัสดิ์ อายุ ๒๘ ปี ที่อยู่ บ้านเลขที่ ๑๙ / ๕ หมู่ที่ ๑ ตำบลแสงอรุณ อำเภอทับสะแก จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ การศึกษา.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
ทิศทางการนำระบบบริหาร จัดการคลังข้อสอบ และการทดสอบมาตรฐานฝีมือ แรงงาน ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์สู่หน่วย ปฏิบัติ โดย วรรณี โกมลกวิน ผู้อำนวยการกลุ่มงานกำหนด.
แผนการตรวจรับรอง สถานที่ทำงานน่าอยู่ น่า ทำงาน โดยศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี วันเวลาหน่วยงานทีมประเมิน 11 กค.59 เช้า - รพท. นภ. บ่าย สสอ. เมือง ศูนย์อนามัย.
1.กิจกรรมสร้างการรับรู้ เนื้อหา :  สร้างการรับรู้เรื่องสถานการณ์น้ำในพื้นที่แต่ละจังหวัด  รายงานความเคลื่อนไหวการเตรียมรับมือสถานการณ์  รณรงค์การใช้น้ำอย่างประหยัด.
สงกรานต์ ๒๕๕๗. ร่วมสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัย สงกรานต์ ทั่วไทยไร้อุบัติเหตุ  จะร่วมสร้างวัฒนธรรมความ ปลอดภัยกันอย่างไร  จะทำสงกรานต์ทั่วไทยไร้อุบัติเหตุ
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ส้วมสะอาดในร้านอาหาร
การส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยเรียน
ข้อสั่งการ/ข้อเสนอแนะ
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
EB9 (3) มีการประชุมหรือสัมมนาหรือแลกเปลี่ยนความรู้ภายในหน่วยงาน เพื่อให้ความรู้เรื่องการป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนแก่เจ้าหน้าที่ หรือไม่
การขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพ แบบบูรณาการ เขตสุขภาพที่ 6
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
กลุ่มยุทธศาสตร์ฯ ตัวชี้วัด ของปศุสัตว์อำเภอ รอบที่ ๑/๒๕๖๑ และ รอบที่ ๒/๒๕๖๑ จำนวน ๑๐ ตัวชี้วัด ๑.๑ร้อยละความสำเร็จในการปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
EB9 หน่วยงานของท่านมีการดำเนินการเพื่อป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนในหน่วยงานอย่างไร (1) มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับการปฏิบัติงานที่อาจเกิดผลประโยชน์ทับซ้อน.
ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
Model ผลที่คาดหวัง วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดหลัก
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
นายแพทย์สุวัช เซียศิริวัฒนา 19 พฤษภาคม 2552 โรงแรมอมารีแอร์พอร์ต
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
อสม.ดีเด่น สาขาทันตสุขภาพ
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข โรงแรมเดอะรอยัลเจมส์ กอล์ฟ รีสอร์ท
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
การดำเนินงาน GREEN & CLEAN Hospital จังหวัดน่าน ปีงบประมาณ 2561
การติดตาม (Monitoring)
นโยบายการขับเคลื่อน อาหารปลอดภัยของประเทศ
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
จังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี ปี 54
รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ 2560 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลำพูน
จุฑารัตน์ สะธรรมกิจ ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
ปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพ และ วิถีชีวิตเพื่อสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการดำเนินงานเพื่อผู้สูงอายุ การประชุมเชิงปฏิบัติการ “การพัฒนาศักยภาพและเสริมทักษะด้านโภชนาการ เพื่อการดูแลผู้สูงอายุตลอดช่วงชีวิตและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกับภาคีเครือข่าย” แนวทางการดำเนินงานเพื่อผู้สูงอายุ “ไม่ล้ม ไม่ลืม ไม่ซึมเศร้า กินข้าวอร่อย” น.ส. วิไลลักษณ์ ศรีสุระ นักโภชนาการชำนาญการพิเศษ น.ส. ทิพรดี คงสุวรรณ นักโภชนาการปฏิบัติการ ณ โรงแรมมารวย การ์เด้น กรุงเทพมหานคร 14-15 ธันวาคม 2560

มาตรการการดำเนินงานด้านโภชนาการ สำหรับ สสอ. โรงพยาบาล* รพ.สต. มาตรการการดำเนินงานด้านโภชนาการ สำหรับ สสอ. โรงพยาบาล* รพ.สต. 1. นโยบาย มีการกำหนดนโยบายและมาตรการการ ดำเนินงานของโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพ ด้านโภชนาการ สู่การปฏิบัติ และมีแผนปฏิบัติงานรองรับ 2. อาหารปลอดภัย วัตถุดิบที่ใช้ในการปรุงอาหารในโรง ครัว*และร้านอาหาร ของโรงพยาบาล ปลอดภัยจากการปนเปื้อนของ สารกำจัดศัตรูพืช สารฟอกขาว ฟอร์มาลิน สารกันรา บอแรกซ์ และน้ำมัน ทอดซ้ำ 3. อาหารเพื่อสุขภาพ โรงครัว* มีบริการอาหารเพื่อสุขภาพ อาหาร เฉพาะโรค และอาหารฮาลาล** ร้านอาหาร มีบริการอาหารเพื่อสุขภาพ ผ่าน เกณฑ์มาตรฐานเมนูชูสุขภาพ** นำแนวทาง Healthy Meeting มาใช้ ในการจัดการประชุม

มาตรการการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพด้าน โภชนาการ ใน สสอ. โรงพยาบาล. รพ มาตรการการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพด้าน โภชนาการ ใน สสอ. โรงพยาบาล* รพ.สต. (ต่อ) 4.การสร้างสภาพแวดล้อม/สื่อสาร/การให้ความรู้ด้านโภชนาการและอาหารปลอดภัย มีการสื่อสารให้ความรู้เรื่องการบริโภคอาหารที่ดีต่อสุขภาพ เช่น การบริโภคอาหารลดหวาน มัน เค็ม และเพิ่มการบริโภคผัก ผลไม้ รวมทั้งอาหารเฉพาะโรคต่างๆ ประเมินพฤติกรรมการบริโภค รวมทั้งการให้แนวทางในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค ให้กับผู้รับบริการ ติดตามเยี่ยมบ้าน และเผยแพร่ให้ความรู้ให้กับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข และอสม.ร่วมจัดกิจกรรมสัปดาห์รณรงค์ลดการกินเค็ม 5. มาตรฐานสุขาภิบาลอาหาร โรงครัว*ผ่านเกณฑ์มาตรฐานสุขาภิบาลอาหาร ร้านอาหารและแผงลอยที่จำหน่ายอาหารในโรงพยาบาลผ่านเกณฑ์มาตรฐาน CFGT(Clean Food Good Taste)

สัปดาห์รณรงค์ลดการกินเค็ม กิจกรรมเดือนมีนาคม 1. การจัดนิทรรศการให้ความรู้เรื่อง “อาหารรสเค็ม (อาหารที่มีโซเดียมสูง) และ อาหารลดเค็ม” 2. เผยแพร่ความรู้ผ่านสื่อช่องทางต่างๆ ได้แก่ infographic ป้ายนิทรรศการ เสียงตามสาย หอกระจายข่าว วิทยุ เคเบิ้ลทีวี โทรทัศน์ 3. กิจกรรมการอ่านฉลากโภชนาการ/จัดประกวด หรือสาธิตอาหารลดเค็ม 5. กิจกรรมการประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหารรสเค็ม 6. การจัดกลุ่มเพื่อรณรงค์ลดการกินเค็มตลอดสัปดาห์ 7. กิจกรรมยกพวงเครื่องปรุงออกจากร้านอาหาร และโต๊ะอาหาร 8. ลดการปรุงอาหารรสเค็มในร้านอาหาร โรงครัว

แบบประเมินออนไลน์ส่งเสริมด้านอาหารและโภชนาการระดับ สสจ. รพ. รพ. สต แบบประเมินออนไลน์ส่งเสริมด้านอาหารและโภชนาการระดับ สสจ. รพ. รพ.สต. (เดือนมีนาคม) ประกาศนโยบายและมาตรการการดำเนินงานด้านโภชนาการ/อาหาร ปลอดภัย แนวทางการดำเนินงานด้านอาหารปลอดภัย แนวทางการดำเนินงานลดการปรุงอาหารหวาน มัน เค็ม เผยแพร่ความรู้ผ่านสื่อช่องทางต่างๆ กิจกรรมการอ่านฉลากโภชนาการ/จัดประกวด /สาธิตอาหาร/ให้ความรู้ ในชุมชน การการประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหาร ยกพวงเครื่องปรุงออกจากร้านอาหาร และโต๊ะอาหาร ปรับสูตรอาหาร ลดหวานมันเค็มในโรงครัวของโรงพยาบาล หรือ ร้านอาหารในโรงอาหาร ส่งเสริมการกินผักผลไม้ มีบริการอาหารเพื่อสุขภาพในโรงพยาบาล ร้านอาหารมีบริการข้าวกล้อง เน้นเมนูผัก เมนูปลา ลดหวานมันเค็ม เครื่องดื่มหวานน้อย จัดการประชุมตามแนวทาง Healthy Meeting โดยอ้างอิงเกณฑ์เมนูอาหาร ว่างเพื่อสุขภาพ การมีส่วนร่วมของชุมชนโดยอบรมให้ความรู้เสริมทักษะสร้างความรอบด้าน โภชนาการให้กับ อสม./ประชาชน สร้างสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ เก็บข้อมูลภาวะโภชนากรของประชาชนในพื้นที่ วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อจัดทำโครงการแก้ไขปัญหาโภชนาการตามบริบทพื้นที่

สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ

สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ

พัฒนาสมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ

แนะนำเว็บไซด์ สำนักโภชนาการ http://nutrition.anamai.moph.go.th/

ขอบคุณค่ะ