แนวทางการดำเนินงานเพื่อผู้สูงอายุ การประชุมเชิงปฏิบัติการ “การพัฒนาศักยภาพและเสริมทักษะด้านโภชนาการ เพื่อการดูแลผู้สูงอายุตลอดช่วงชีวิตและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกับภาคีเครือข่าย” แนวทางการดำเนินงานเพื่อผู้สูงอายุ “ไม่ล้ม ไม่ลืม ไม่ซึมเศร้า กินข้าวอร่อย” น.ส. วิไลลักษณ์ ศรีสุระ นักโภชนาการชำนาญการพิเศษ น.ส. ทิพรดี คงสุวรรณ นักโภชนาการปฏิบัติการ ณ โรงแรมมารวย การ์เด้น กรุงเทพมหานคร 14-15 ธันวาคม 2560
มาตรการการดำเนินงานด้านโภชนาการ สำหรับ สสอ. โรงพยาบาล* รพ.สต. มาตรการการดำเนินงานด้านโภชนาการ สำหรับ สสอ. โรงพยาบาล* รพ.สต. 1. นโยบาย มีการกำหนดนโยบายและมาตรการการ ดำเนินงานของโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพ ด้านโภชนาการ สู่การปฏิบัติ และมีแผนปฏิบัติงานรองรับ 2. อาหารปลอดภัย วัตถุดิบที่ใช้ในการปรุงอาหารในโรง ครัว*และร้านอาหาร ของโรงพยาบาล ปลอดภัยจากการปนเปื้อนของ สารกำจัดศัตรูพืช สารฟอกขาว ฟอร์มาลิน สารกันรา บอแรกซ์ และน้ำมัน ทอดซ้ำ 3. อาหารเพื่อสุขภาพ โรงครัว* มีบริการอาหารเพื่อสุขภาพ อาหาร เฉพาะโรค และอาหารฮาลาล** ร้านอาหาร มีบริการอาหารเพื่อสุขภาพ ผ่าน เกณฑ์มาตรฐานเมนูชูสุขภาพ** นำแนวทาง Healthy Meeting มาใช้ ในการจัดการประชุม
มาตรการการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพด้าน โภชนาการ ใน สสอ. โรงพยาบาล. รพ มาตรการการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพด้าน โภชนาการ ใน สสอ. โรงพยาบาล* รพ.สต. (ต่อ) 4.การสร้างสภาพแวดล้อม/สื่อสาร/การให้ความรู้ด้านโภชนาการและอาหารปลอดภัย มีการสื่อสารให้ความรู้เรื่องการบริโภคอาหารที่ดีต่อสุขภาพ เช่น การบริโภคอาหารลดหวาน มัน เค็ม และเพิ่มการบริโภคผัก ผลไม้ รวมทั้งอาหารเฉพาะโรคต่างๆ ประเมินพฤติกรรมการบริโภค รวมทั้งการให้แนวทางในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค ให้กับผู้รับบริการ ติดตามเยี่ยมบ้าน และเผยแพร่ให้ความรู้ให้กับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข และอสม.ร่วมจัดกิจกรรมสัปดาห์รณรงค์ลดการกินเค็ม 5. มาตรฐานสุขาภิบาลอาหาร โรงครัว*ผ่านเกณฑ์มาตรฐานสุขาภิบาลอาหาร ร้านอาหารและแผงลอยที่จำหน่ายอาหารในโรงพยาบาลผ่านเกณฑ์มาตรฐาน CFGT(Clean Food Good Taste)
สัปดาห์รณรงค์ลดการกินเค็ม กิจกรรมเดือนมีนาคม 1. การจัดนิทรรศการให้ความรู้เรื่อง “อาหารรสเค็ม (อาหารที่มีโซเดียมสูง) และ อาหารลดเค็ม” 2. เผยแพร่ความรู้ผ่านสื่อช่องทางต่างๆ ได้แก่ infographic ป้ายนิทรรศการ เสียงตามสาย หอกระจายข่าว วิทยุ เคเบิ้ลทีวี โทรทัศน์ 3. กิจกรรมการอ่านฉลากโภชนาการ/จัดประกวด หรือสาธิตอาหารลดเค็ม 5. กิจกรรมการประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหารรสเค็ม 6. การจัดกลุ่มเพื่อรณรงค์ลดการกินเค็มตลอดสัปดาห์ 7. กิจกรรมยกพวงเครื่องปรุงออกจากร้านอาหาร และโต๊ะอาหาร 8. ลดการปรุงอาหารรสเค็มในร้านอาหาร โรงครัว
แบบประเมินออนไลน์ส่งเสริมด้านอาหารและโภชนาการระดับ สสจ. รพ. รพ. สต แบบประเมินออนไลน์ส่งเสริมด้านอาหารและโภชนาการระดับ สสจ. รพ. รพ.สต. (เดือนมีนาคม) ประกาศนโยบายและมาตรการการดำเนินงานด้านโภชนาการ/อาหาร ปลอดภัย แนวทางการดำเนินงานด้านอาหารปลอดภัย แนวทางการดำเนินงานลดการปรุงอาหารหวาน มัน เค็ม เผยแพร่ความรู้ผ่านสื่อช่องทางต่างๆ กิจกรรมการอ่านฉลากโภชนาการ/จัดประกวด /สาธิตอาหาร/ให้ความรู้ ในชุมชน การการประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหาร ยกพวงเครื่องปรุงออกจากร้านอาหาร และโต๊ะอาหาร ปรับสูตรอาหาร ลดหวานมันเค็มในโรงครัวของโรงพยาบาล หรือ ร้านอาหารในโรงอาหาร ส่งเสริมการกินผักผลไม้ มีบริการอาหารเพื่อสุขภาพในโรงพยาบาล ร้านอาหารมีบริการข้าวกล้อง เน้นเมนูผัก เมนูปลา ลดหวานมันเค็ม เครื่องดื่มหวานน้อย จัดการประชุมตามแนวทาง Healthy Meeting โดยอ้างอิงเกณฑ์เมนูอาหาร ว่างเพื่อสุขภาพ การมีส่วนร่วมของชุมชนโดยอบรมให้ความรู้เสริมทักษะสร้างความรอบด้าน โภชนาการให้กับ อสม./ประชาชน สร้างสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ เก็บข้อมูลภาวะโภชนากรของประชาชนในพื้นที่ วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อจัดทำโครงการแก้ไขปัญหาโภชนาการตามบริบทพื้นที่
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
พัฒนาสมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
แนะนำเว็บไซด์ สำนักโภชนาการ http://nutrition.anamai.moph.go.th/
ขอบคุณค่ะ