(ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี พ.ศ. 2560 –2579) กรอบการพัฒนาประเทศระยะยาว (ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี พ.ศ. 2560 –2579)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 พ. ศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 –2564 วิสัยทัศน์: มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน
ยุทธศาสตร์ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ. ศ ยุทธศาสตร์ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 –2560) มี 10 ยุทธศาสตร์ 1) ยุทธศาสตร์การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ 2) ยุทธศาสตร์การสร้างความเป็นธรรมลดความเหลื่อมลาในสังคม 3) ยุทธศาสตร์การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขัน ได้อย่างยั่งยืน 4) ยุทธศาสตร์การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อการ พัฒนาอย่างยั่งยืน 5) ยุทธศาสตร์การเสริมสร้างความมั่นคงแห่งชาติเพื่อการ พัฒนาประเทศสู่ความมั่งคั่งและยั่งยืน 6) ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการในภาครัฐ การป้องกันการ ทุจริตประพฤติมิชอบและธรรมาภิบาลในสังคมไทย 7) ยุทธศาสตร์การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์ 8) ยุทธศาสตร์การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม 9) ยุทธศาสตร์การพัฒนาภาค เมือง และพื้นที่เศรษฐกิจ 10) ยุทธศาสตร์ความร่วมมือระหว่างประเทศเพื่อการพัฒนา เป้าหมายสาคัญตามแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 จานวน 6เป้าหมาย ประกอบด้วย 1) คนไทยที่มีคุณลักษณะเป็นคนไทยที่สมบูรณ์มีวินัย มีทัศนคติ และพฤติกรรม ตามบรรทัดฐานที่ดีของสังคม 2) การลดความเหลื่อมลาทางด้านรายได้และความยากจน การเข้าถึงบริการทางสังคมที่มีคุณภาพอย่างทั่วถึง 3) ระบบเศรษฐกิจมีความเข้มแข็งและแข่งขันได้ โครงสร้าง เศรษฐกิจปรับสู่เศรษฐกิจฐานบริการและดิจิทัล มีผู้ประกอบการรุ่นใหม่และเป็นสังคมผู้ประกอบการ 4) ทุนทางธรรมชาติและคุณภาพสิ่งแวดล้อมสามารถสนับสนุน การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มีความมั่นคงอาหาร พลังงาน และนา เพิ่มพื นที่ป่าไม้ร้อยละ ๔๐ ของพื นที่ประเทศ 5) มั่นคงในเอกราชและอธิปไตย สังคมปลอดภัย สามัคคี สร้าง ภาพลักษณ์ดี และเพิ่มความเชื่อมั่นของนานาชาติต่อประเทศไทย 6) มีระบบบริหารจัดการภาครัฐที่มีประสิทธิภาพ ทันสมัย โปร่งใส ตรวจสอบได้ กระจายอานาจและมีส่วนร่วมจากประชาชน
แผนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. 2560 –2564
แผนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. 2560 -2564 วิสัยทัศน์ เศรษฐกิจฐานรากมั่นคงและชุมชนพึ่งตนเองได้ ภายในปี 2564 ร้อยละ 80 ของครัวเรือนในหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง 23,589 หมู่บ้าน มีรายได้เฉลี่ยสูงกว่าเกณฑ์ ความจำเป็นขั้นพื้นฐาน (จปฐ.) เป้าหมาย พันธกิจ 1. พัฒนาระบบกลไกการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้การพึ่งตนเอง 2. พัฒนาการบริหารจัดการชุมชนให้พึ่งตนเองได้ 3. สร้างระบบกลไกและกิจกรรมทางเศรษฐกิจฐานรากให้มั่นคงตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 4. พัฒนาองค์กรให้มีขีดสมรรถนะสูง และบุคลากรมีอุดมการณ์ในงานพัฒนาชุมชนและเชี่ยวชาญการทางานเชิงบูรณาการ กลยุทธ์ 1 สร้างสรรค์ชุมชน ให้พึ่งตนเองได้ 2 ส่งเสริมเศรษฐกิจ ฐานรากให้ขยายตัว 3 เสริมสร้างทุนชุมชน ให้มีประสิทธิภาพ และมีธรรมาภิบาล 4 เสริมสร้างองค์กร ให้มีขีดสมรรถนะสูง
1. สร้างสรรค์ชุมชนให้พึ่งตนเองได้ ประเด็นยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ 1.1 สร้างและพัฒนาผู้นาสัมมาชีพ 1.2 พัฒนาเครื่องมือเสริมสร้างสัมมาชีพชุมชน 1.3ส่งเสริมชุมชนและภาคีร่วมพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก 1.4พัฒนาการบริหารจัดการชุมชน 1.5 บริหารจัดการข้อมูลสารสนเทศและเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาชุมชน 1. สร้างสรรค์ชุมชนให้พึ่งตนเองได้ 2.1 เพิ่มศักยภาพผู้ผลิต ผู้ประกอบการ 2.2พัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนด้วยองค์ความรู้และนวัตกรรม 2.3ส่งเสริมช่องทางตลาด 2. ส่งเสริมเศรษฐกิจฐานรากให้ขยายตัว 3. เสริมสร้างทุนชุมชนให้มีประสิทธิภาพ และมีธรรมาภิบาล 3.1 พัฒนาระบบการจัดการและการเข้าถึงแหล่งทุนชุมชน 4.1 เสริมสร้างศักยภาพองค์กรเพื่อยกระดับงานพัฒนาชุมชน 4.2 พัฒนาบุคลากรให้มีคุณภาพ 4.3 ยกระดับภาพลักษณ์องค์กร 4. เสริมสร้างองค์กรให้มีขีดสมรรถนะสูง
กิจกรรมตามยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน ปี 2560 ไตรมาส 1-2 กลุ่มงานยุทธศาสตร์ฯ กลุ่มงานสารสนเทศฯ กลุ่มงานส่งเสริมฯ 1. ประชุมประชารัฐฯ 2 ครั้ง 34,350 บาท 2. ประชุมฯ กรรมการ กทม. 2 รุ่น 392,360 3.ประชุมฯกรรมการศูนย์เรียนรู้ กทม. 1 รุ่น 14,800 บาท 4.สนับสนุนศูนย์เรียนรู้ กทม. 1 แห่ง 14,000 บาท 5.ประชุมเชิงปฏิบัติการต้นกล้า กทม. 23 อ. 167,900 บาท 1. ประชุมคณะทำงานบริหารการจัดเก็บข้อมูลฯ 1 ครั้ง 4,750 บาท 2.ประชุมเชิงปฏิบัติการผู้จัดเก็บฯ ระดับอำเภอ 8,374 คน 1,674,800 บาท 3.ฝึกอบรมผู้บันทึกข้อมูลเรื่องโปรแกรมฯ 234 คน 302,400 บาท 4.ค่าจัดเก็บข้อมูล จปฐ. 334,977 ครัวเรือน 4,019,724 บาท 5.ค่าบันทึกและประมวลผล 334,977 ครัวเรือน 2,009,862 บาท 6.ตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการจัดเก็บ อ. 23 แห่ง 115,000 บาท 7.ตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการจัดเก็บ 7. 1 ครั้ง 115,000 บาท 8.รณรงค์และเชิญชวนการจัดเก็บข้อมูล จปฐ. 1 ครั้ง 25,000 บาท 9.นำเสนอผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตต่อ อปท. 208 แห่ง 365,050 บาท 10.นำเสนอผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตฯ ระดับอำเภอ 23 แห่ง 85,100 บาท 11.ประชาสัมพันธ์เสริมสร้างภาพลักษณ์ฯ 1 ครั้ง 30,000 บาท 1.บูรณาการแผนชุมชนระดับตำบล 159 แห่ง 620,100 บาท 2.ประชุมฯ วิทยากรสัมมาชีพชุมชนระดับจังหวัด 498 คน 24,900 บาท 3.เตรียมความพร้อมทีมวิทยากรสัมมาชีพฯ 498 หมู่บ้าน 1,195,200 บาท 4.พัฒนาผู้นำสัมมาชีพระดับตำบลฯ 159 คน 79,500 บาท 5.พัฒนาผู้นำชุมชนรุ่นใหม่สืบสานงานสัมมาชีพฯ 20 คน 27,800 บาท 6.ประชุมฯ ทีมสนับสนุนการขับเคลื่อนสัมมาชีพฯ จังหวัด 50 คน 25,000 บาท 7. ประชุมฯ ทีมสนับสนุนการขับเคลื่อนสัมมาชีพฯ อำเภอ 1,150 คน 460,000 บาท 8.ส่งเสริมการสร้างสัมมนาชีพ ฯ ในระดับหมู่บ้าน 498 คน 14,591,400 บาท 9.จัดตั้งสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน 6 แห่ง 350,000 บาท 10.ประชุมฯ คณะกรรมการสถาบันฯ เตรียมการบริหารหนี้ 22 แห่ง 202,400 บาท 11. ประชุมฯ สู่มาตรฐาน SSG 29 กลุ่ม 175,450 บาท 12.ประชุมฯ กรรมการกลุ่มออมทรัพย์ ระดับปรับปรุงฯ 18 กลุ่ม 73,440 บาท 13.สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชนบริหารจัดการหนี้ฯ 22 แห่ง 1,526,800 บาท 14.คัดเลือกภูมิปัญญาไทย 5 เรื่อง 14,000 บาท 15. สนับสนุน อนุฯ นตผ.จ. 1 คณะ 28,500 บาท 16. สนับสนุน อนุฯ นตผ.อ. 23 คณะ 138,000 บาท