งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน
โดย กลุ่มงานส่งเสริมการพัฒนาชุมชน

2 ปัจจัยสนับสนุน (Enable)
๑. ส่งเสริม องค์กรธรรมาภิบาล ๒. พัฒนาบุคลากร และผู้นำชุมชน ๓. พัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและ จัดการความรู้ ๔. พัฒนากระบวนการทำงานแบบมีส่วนร่วม ๕. กองทุนหนุนเสริม อาชีพครัวเรือน ๑) ใช้หลัก ธรรมาภิบาลเป็นเครื่องมือส่งเสริมวัฒนธรรมองค์การ ๑) ปรับเปลี่ยน วิธีคิด วิธีทำงาน ๑) พัฒนาเครื่องมือวิเคราะห์ ข้อมูลเศรษฐกิจชุมชน ๑) เสริมสร้าง ความเข้มแข็งของ กองทุนชุมชน ๑) พัฒนาเครื่องมือ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ๒) เติมความรู้และทักษะ ๒) พัฒนารูปแบบกลไกการมีส่วนร่วม ๒) พัฒนาการเข้าถึงแหล่งทุน ๒) พัฒนา Application สำหรับติดตามประเมินผล ๒) ยกระดับ กรมการพัฒนาชุมชนสู่องค์กร ธรรมาภิบาล ๓) สื่อสารเผยแพร่ผลงานและยกย่อง ความดี ๓) พัฒนาเครื่องมือ จัดการความรู้ ๓) กองทุนชุมชน หนุนเสริมสัมมาชีพ ๓) ส่งเสริมและสนับสนุนกระบวนการทำงาน CDD Agenda ๑๑

3 ปัจจัยสนับสนุน (Enable)
๑. ส่งเสริม องค์กรธรรมาภิบาล ๒. พัฒนาบุคลากร และผู้นำชุมชน ๓. พัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและ จัดการความรู้ ๔. พัฒนากระบวนการทำงานแบบมีส่วนร่วม ๕. กองทุนหนุนเสริม อาชีพครัวเรือน ๑) ใช้หลัก ธรรมาภิบาลเป็นเครื่องมือส่งเสริมวัฒนธรรมองค์การ ๑) ปรับเปลี่ยน วิธีคิด วิธีทำงาน ๑) พัฒนาเครื่องมือวิเคราะห์ ข้อมูลเศรษฐกิจชุมชน ๑) เสริมสร้าง ความเข้มแข็งของ กองทุนชุมชน ๑) พัฒนาเครื่องมือ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ๒) เติมความรู้และทักษะ ๒) พัฒนารูปแบบกลไกการมีส่วนร่วม ๒) พัฒนาการเข้าถึงแหล่งทุน ๒) พัฒนา Application สำหรับติดตามประเมินผล ๒) ยกระดับ กรมการพัฒนาชุมชนสู่องค์กร ธรรมาภิบาล ๓) สื่อสารเผยแพร่ผลงานและยกย่อง ความดี ๓) พัฒนาเครื่องมือ จัดการความรู้ ๓) กองทุนชุมชน หนุนเสริมสัมมาชีพ ๓) ส่งเสริมและสนับสนุนกระบวนการทำงาน CDD Agenda ๑๑

4 กระบวนการสร้างสัมมาชีพชุมชน :
ถึงจะเหนื่อยแต่ก็สู้ โครงการหลัก 3 โครงการ ดังนี้ 4 3 ขยายผลการสร้างครัวเรือนสัมมาชีพชุมชน 348 หมู่บ้าน (1+5+26) (หมู่บ้านละ 3 วัน) สร้างสัมมาชีพชุมชนในระดับหมู่บ้าน (ใหม่) 159 หมู่บ้าน ( ) (หมู่บ้านละ 3 วัน) 2 1 เตรียมความพร้อมทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชน (ใหม่) 159 หมู่บ้าน ( ) ( หมู่บ้านละ 2 วัน) พัฒนาผู้นำสัมมาชีพ เป็นวิทยากรสัมมาชีพชุมชน 159 คน (รุ่นละ 4 วัน) ศพช.นครราชสีมา

5 จังหวัดบุรีรัมย์ ไตรมาส 1- 2
โครงการ “สร้างสัมมาชีพชุมชนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” ปีงบประมาณ 2561 จังหวัดบุรีรัมย์ ไตรมาส 1- 2 กิจกรรมหลักที่ 1 บูรณาการแผนชุมชนระดับตำบล กิจกรรมหลักที่ 2 สร้างและพัฒนาผู้นำสัมมาชีพชุมชนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 1.1 ประชุมเชิงปฏิบัติการคณะกรรมการศูนย์ประสานงานองค์การชุมชนระดับจังหวัด (ศอช.จ.) (1 คณะ) 2.1 เตรียมความพร้อมทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชน (ใหม่) (1+5+26) 2.2 สร้างสัมมาชีพชุมชนในระดับหมู่บ้าน (ใหม่) (1+5+26) 2.3 ขยายผลการสร้างสัมมาชีพชุมชน (เดิม) (1+5+26) 1.2 บูรณาการแผนชุมชนระดับตำบลสร้างสัมมาชีพชุมชน (165 ตำบล) 2.4 การสร้างทีมสนับสนุนการขับเคลื่อนสัมมาชีพชุมชนระดับจังหวัด (1) ประชุมเชิงปฏิบัติการทีมสนับสนุนการขับเคลื่อนสัมมาชีพชุมชนระดับจังหวัด (2) การติดตามสนับสนุนการขับเคลื่อนสัมมาชีพชุมชน (3) ส่งเสริมและสนับสนุนการประกอบอาชีพแก่ครัวเรือนสัมมาชีพตัวอย่าง ( ) 2.5 คัดสรรกิจกรรมพัฒนาชุมชนดีเด่น (4 + 1) ต่อ

6 แนวทางการขับเคลื่อนโครงการ “สร้างสัมมาชีพชุมชนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” ปีงบประมาณ 2561
หมู่บ้านเดิม หมู่บ้านใหม่ กิจกรรมสนับสนุน ขยายผลการสร้างครัวเรือนสัมมาชีพชุมชน เตรียมความพร้อมทีมสัมมาชีพชุมชน สร้างสัมมาชีพชุมชนในระดับหมู่บ้าน ประชุมเชิงปฏิบัติการศูนย์ประสานงานองค์การชุมชนระดับจังหวัด (ศอช.จ) -ดำเนินการระดับจังหวัด 1.วัตถุประสงค์ : เพื่อส่งเสริมอาชีพตามแนวทางสัมมาชีพชุมชนแก่ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย 2..เป้าหมาย : วิทยากรผู้นำ 1 + ทีมวิทยากร 4 + คร.สัมมาชีพ 26 (คร.ที่ ) 3.งบประมาณ : หมู่บ้านละ 27,600 บาท - ตอบแทนวิทยากรผู้นำฯ 2 ชม.ละ 600 (1,200) - ทีมวิทยากรฯ คนละ1 ชม.ๆ ละ 400 (2,000) - ค่าอาหาร + อาหารว่าง ภาคอบรม (3,100 บาท ) - วัสดุอบรมฯ บาท - วัสดุสนับสนุนฝึกอาชีพให้ คร. ละ 800 บาท (20,800 บาท) * ไม่มีค่าดำเนินกิจกรรมภาคศึกษาดูงาน 1 วัน 4.ดำเนินการไตรมาส 1-2 จำนวน 3 วัน - วันที่ 1 ภาควิชาการ - วันที่ 2 ศึกษาดูงาน ณ หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง หรือ บ้านปราชญ์ - วันที่ 3 ฝึกปฏิบัติอาชีพให้กับครัวเรือนเป้าหมาย 1.วัตถุประสงค์ : เพื่อสร้างทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชนในระดับหมู่บ้านให้มีความพร้อม 2..เป้าหมาย : วิทยากรผู้นำ 1 + ทีมวิทยากร 4 + คร.สัมมาชีพ 26 (คร.ที่ 1 -26) 3.งบประมาณ : หมู่บ้านละ 2,600 บาท ตอบแทนวิทยากร 2 ชม.ละ 600 (1,200) - ค่าอาหาร 50 + อาหารว่าง 25 (1,000 บาท ) - วัสดุสนับสนุนฝึกอบรม คนละ 80 บาท (400 บาท) 4.ดำเนินการไตรมาส 1 จำนวน 2 วัน - วันที่ 1 ภาควิชาการ (Way of life + ทักษะวิทยากร + วิเคราะอาชีพ) - วันที่ 2 เตรียมความพร้อม คร.เป้าหมายโดยทีมวิทยากร 5 คน และทีมสนับสนุนฯ ไปพบ คร. สัมมาชีพ 26 คร. เพื่อนัดหมายการอบรมฯ 1.วัตถุประสงค์ : เพื่อส่งเสริมอาชีพตามแนวทางสัมมาชีพชุมชนแก่ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย 2..เป้าหมาย : วิทยากรผู้นำ 1 + ทีมวิทยากร 4 + คร.สัมมาชีพ 26 (คร.ที่ ) 3.งบประมาณ : หมู่บ้านละ 27,600 บาท - ตอบแทนวิทยากรผู้นำฯ 2 ชม.ละ 600 (1,200) - ทีมวิทยากรฯ คนละ1 ชม.ๆ ละ 400 (2,000) - ค่าอาหาร + อาหารว่าง ภาคอบรม (3,100 บาท ) - วัสดุอบรมฯ บาท - วัสดุสนับสนุนฝึกอาชีพให้ คร. ละ 800 บาท (20,800 บาท) * ไม่มีค่าดำเนินกิจกรรมภาคศึกษาดูงาน 1 วัน 4.ดำเนินการไตรมาส 1-2 จำนวน 3 วัน - วันที่ 1 ภาควิชาการ - วันที่ 2 ศึกษาดูงาน ณ หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง หรือ บ้านปราชญ์ - วันที่ 3 ฝึกปฏิบัติอาชีพให้กับครัวเรือนเป้าหมาย การสร้างทีมสนับสนุนการชับเคลื่อนสัมมาชีพชุมชนระดับจังหวัด ดำเนินการระดับจังหวัด (ปราชญ์ + ผู้นำอช.+ กพสต.+ เครือข่าย OTOP รวม 577 คน) บูรณาการแผนชุมชนระดับตำบลสร้างสัมมาชีพชุมชน -ดำเนินการระดับอำเภอ เป้าหมาย : จำนวน 165 ตำบล (ม.สัมมาชีพใหม่ปี 61 + เก่าปี 60) วัตถุประสงค์ : เพื่อบูรณาการแผนตำบลและสนับสนุน ศอช.ต.เป็นกลไกบูรณาการแผนตำบลฯ โครงการพัฒนาผู้นำสัมมาชีพ ประจำปี 2561 - ศพช.นครราชสีมา จัดอบรมให้กลุ่มเป้าหมายจังหวัดบุรีรัมย์ 1 – 4 ธ.ค.60 จำนวน 159 คน

7 ปัจจัยสนับสนุน (Enable)
๑. ส่งเสริม องค์กรธรรมาภิบาล ๒. พัฒนาบุคลากร และผู้นำชุมชน ๓. พัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและ จัดการความรู้ ๔. พัฒนากระบวนการทำงานแบบมีส่วนร่วม ๕. กองทุนหนุนเสริม อาชีพครัวเรือน ๑) ใช้หลัก ธรรมาภิบาลเป็นเครื่องมือส่งเสริมวัฒนธรรมองค์การ ๑) ปรับเปลี่ยน วิธีคิด วิธีทำงาน ๑) พัฒนาเครื่องมือวิเคราะห์ ข้อมูลเศรษฐกิจชุมชน ๑) เสริมสร้าง ความเข้มแข็งของ กองทุนชุมชน ๑) พัฒนาเครื่องมือ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ๒) เติมความรู้และทักษะ ๒) พัฒนารูปแบบกลไกการมีส่วนร่วม ๒) พัฒนาการเข้าถึงแหล่งทุน ๒) พัฒนา Application สำหรับติดตามประเมินผล ๒) ยกระดับ กรมการพัฒนาชุมชนสู่องค์กร ธรรมาภิบาล ๓) สื่อสารเผยแพร่ผลงานและยกย่อง ความดี ๓) พัฒนาเครื่องมือ จัดการความรู้ ๓) กองทุนชุมชน หนุนเสริมสัมมาชีพ ๓) ส่งเสริมและสนับสนุนกระบวนการทำงาน CDD Agenda ๑๑

8 และมีรายได้เพิ่มขึ้น
โครงการ “ส่งเสริมการบริหารจัดการการเงินชุมชน” ปีงบประมาณ 2561 เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย แนวคิด ครัวเรือนที่มีหนี้มากกว่า 1 สัญญา (78,523 คร.) ครัวเรือนสามารถ บริหารจัดการหนี้ และมีรายได้เพิ่มขึ้น ส่งเสริมและสนับสนุนศูนย์จัดการกองทุนชุมชนและกองทุนชุมชน ให้สามารถบริหารจัดการกองทุนเพื่อแก้ไขปัญหาหนี้สิน และสร้างรายได้ให้กับชุมชน ครัวเรือนสัมมาชีพ ( 20,140 ม.) ครัวเรือนตกเกณฑ์ จปฐ. (126,102 คร. ใน 20,347 ม.) ตัวชี้วัด กระบวนการ พัฒนาศักยภาพกลไกการขับเคลื่อน ศูนย์จัดการกองทุนชุมชน ส่งเสริมการบริหาร จัดการหนี้ หนุนเสริมสัมมาชีพ 1. จำนวนครัวเรือน ที่มีการบริหารจัดการหนี้ ไปสู่ 1 ครัวเรือน 1 สัญญา ไม่น้อยกว่า 12,764 ครัวเรือน ทีมวิทยากรขับเคลื่อน เจ้าหน้าที่ขับเคลื่อน คณะกรรมการศูนย์จัดการกองทุน ชุมชน บริหารจัดการหนี้ “สำนึกดี แผนดี บริหารหนี้ได้” จัดการองค์ความรู้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบ เชิดชูเกียรติ ศูนย์สาธิตการตลาด ศูนย์เรียนรู้ทุนชุมชน งานพัฒนาทุนชุมชนในศูนย์ศึกษา การพัฒนาเขาหินซ้อนฯ กิจกรรม คณะทำงานจัดการกองทุนชุมชน กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต โครงการ กข.คจ. 2. ร้อยละ 60 ของกองทุนชุมชนสามารถหนุนเสริมสัมมาชีพครัวเรือน 3. จำนวนกองทุนชุมชนที่มีการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ 1,500 กลุ่ม

9 โครงการ “ส่งเสริมการบริหารจัดการการเงินชุมชน” ปีงบประมาณ 2561 จังหวัดบุรีรัมย์
ไตรมาส 1 -2 กิจกรรมย่อยที่ 1 พัฒนาศักยภาพกลไกการขับเคลื่อนศูนย์จัดการ กองทุนชุมชน กิจกรรมย่อยที่ 2 ส่งเสริมการบริหารจัดการหนี้และหนุนเสริมสัมมาชีพ 2.1 ประชุมเชิงปฏิบัติการคณะทำงานจัดการกองทุนชุมชน - ระดับจังหวัด (507 หมู่บ้าน) 1.1 ส่งเสริมการออมด้วยการจัดตั้งกลุ่มออมทรัพย์ฯ (2 กลุ่ม) 2.2 ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนบริหารจัดการหนี้ “สำนึกดี แผนดี บริหารหนี้ได้” (28 แห่ง) 1.2 เพิ่มศักยภาพกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตสู่ระดับ มาตรฐาน (SSG) - ระดับอำเภอ จำนวน 18 กลุ่ม - ระดับจังหวัด จำนวน 47 กลุ่ม 2.3 ส่งเสริมสนับสนุนการดำเนินงานศูนย์สาธิตการตลาด ( 22 แห่ง) 2.4 สนับสนุนการดำเนินงานบริหารจัดการกองทุนชุมชน ( 1 แห่ง) ต่อ

10 แนวทางการขับเคลื่อนโครงการ “ส่งเสริมการบริหารจัดการเงินทุนชุมชน” ปีงบประมาณ 2561
เป้าหมาย พัฒนาศักยภาพกลไกการขับเคลื่อน ศูนย์จัดการกองทุนชุมชน ส่งเสริมการบริหารจัดการหนี้ หนุนเสริมสัมมาชีพ ครัวเรือนสามารถ บริหารจัดการหนี้ และมีรายได้เพิ่มขึ้น ประชุมเชิงปฏิบัติการคณะทำงานจัดการกองทุน - ดำเนินการระดับจังหวัด ไตรมาส 1 -2 - ดำเนินการ 2 วัน - เป้าหมายจำนวน 507 หมู่บ้าน จาก ม.สัมมาชีพ ใหม่ (ม.เดิม) (ตัวแทนคณะทำงานจัดการกองทุน .ละ 1 คน) เพิ่มศักยภาพกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตสู่ระดับมาตรฐาน (SSG) - ระดับอำเภอ จำนวน 18 กลุ่ม - ไตรมาส 1 งบประมาณ กลุ่มละ 2,100 บาท - เป้าหมาย ออมทรัพย์ฯ 2 ปรับเป็น 3 - ระดับจังหวัด จำนวน 47 กลุ่ม (เป้าหมายจาก SSG + ออมทรัพย์ 2 เป็น 3) ส่งเสริมสนับสนุนการดำเนินงานศูนย์สาธิตการตลาด - ดำเนินการระดับอำเภอ ไตรมาส 1 - เป้าหมาย จำนวน 22 แห่ง - งบประมาณแห่งละ 10,500 บาท ใช้จ่ายงบประมาณในลักษณะงบดำเนินงาน รวมทั้งจัดหาวัสดุสำหรับพัฒนาศูนย์ฯ ส่งเสริมการออมด้วยการจัดตั้งกลุ่มออมทรัพย์ - ดำเนินการระดับอำเภอ ไตรมาส 2 - ดำเนินการ 2 วัน - เป้าหมายจำนวน 2 กลุ่ม จาก - หมู่บ้านตามโครงการพระราชดำริ หรือ หมู่บ้านตกเกณฑ์ จปฐ. หรือ พัฒนากรสนใจ หรือ หมุ่บ้านที่มีความสนใจ งบประมาณ หมู่บ้านละ 4,700 บาท ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนบริหารจัดการหนี้ “สำนึกดี แผนดี บริหารหนี้ได้” ดำเนินการระดับอำเภอ เป้าหมาย 28 แห่ง จากสถาบันเก่า + ใหม่ - ไตรมาสที่ 2 (สถาบันเก่า จำนวน 22 แห่ง) 4 วัน - ไตรมาสที่ 3 (สถาบันใหม่ จำนวน 6 แห่ง) 4 วัน - เป้าหมาย แห่งละ 30 คน งบประมาณแห่งละ 61,000 บาท - ขออนุมัติโครงการจากจังหวัด ในวงเงินงบประมาณ 40,000 บาท สนับสนุนการดำเนินงานบริหารจัดการกองทุนชุมชน จำนวน 1 แห่ง รายละเอียดไม่ชัดเจน


ดาวน์โหลด ppt การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google