คำ วิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ครูกิ่งกาญจน์ สมจิตต์
ส่วนประกอบของคำ ๑. เสียง ๒. ความหมาย
ความหมายของคำ หากพิจารณาโดยคำนึงถึงความหมาย จะแบ่งออกเป็น ๒ ลักษณะ คือ ๑. ความหมายเฉพาะ ๒. ความหมายเทียบเคียงกับคำอื่น
ความหมายเฉพาะของคำ ๑. ความหมายตามตัวกับความหมายเชิงอุปมา คำ กล้วย ผลไม้ ง่าย ควาย สัตว์ โง่ ดาว สสารวัตถุบนท้องฟ้า คนสวย เด่นที่สุด เต่าล้านปี สัตว์โบราณ คนคร่ำครึล้าสมัย
ความหมายเฉพาะของคำ ๒. ความหมายนัยตรงกับความหมายนัยประหวัด ความหมายนัยตรง คือ ความหมายที่ปรากฏในพจนานุกรม อาจเป็นความหมายตามตัวหรือเชิงอุปมาก็ได้ ความหมายนัยประหวัด คือ ความหมายที่จิตประหวัดคิดไปถึงเมื่อได้ยินคำนั้น เธอมีปัญหาอะไรควรปรึกษาผู้ใหญ่ (ผู้ใหญ่ มีความหมายนัยประหวัดว่า ผู้ที่มีประสบการณ์มากเป็นที่พึ่งได้) เธออยากกินน้อยหน่าไม๊ (น้อยหน่า มีความหมายนัยประหวัดว่า ลูกระเบิด)
ความหมายของคำเมื่อเทียบเคียงกับคำอื่น คำที่มีความหมายเหมือนกัน
ความหมายของคำเมื่อเทียบเคียงกับคำอื่น คำที่มีความหมายคล้ายกันหรือร่วมกัน
ความหมายของคำเมื่อเทียบเคียงกับคำอื่น คำที่มีความหมายตรงข้ามกัน
ความหมายของคำเมื่อเทียบเคียงกับคำอื่น คำที่มีความหมายครอบคลุมคำอื่น
ข้อสังเกตเกี่ยวกับความหมายของคำ ๑. คำบางคำมีความหมายได้หลายอย่าง ๒. คำบางคู่มีความหมายคล้ายกัน แต่แสดงทัศนคติของ ผู้พูดต่างกัน เช่น คนแก่ คนชรา ผู้อาวุโส ๓. คำบางคำมีความหมายตรงข้ามกับคำอื่นได้หลายคำ ๔. คำบางคำมีความหมายร่วมกับคำอื่นได้หลายคำ ๕. คำบางคำมีใช้เฉพาะเนื่องมาจากความหมายของคำ นั้นๆ (เพศ
ลักษณะเด่นของภาษาไทย ๑. คำลักษณนาม ๒. คำอนุภาค กินขนมนี่สิ กินขนมนี่ซะ กินขนมนี่นะ