งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ศาสนาเชน Jainism.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ศาสนาเชน Jainism."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ศาสนาเชน Jainism

2 ประเพณี พิธีกรรม วันสำคัญ
ศาสนาเชน ประวัติความเป็นมา 1 ความหมายของศาสนา 2 ศาสดาของศาสนา 3 หลักธรรม คัมภีร์ 4 นิกาย สัญลักษณ์ 5 ประเพณี พิธีกรรม วันสำคัญ 6

3 ประวัติศาสนา แหล่งกำเนิด ประเทศอินเดีย เกิดก่อนพุทธศักราช 58 ปี
แหล่งกำเนิด ประเทศอินเดีย เกิดก่อนพุทธศักราช 58 ปี ศาสนาเชนมีความเก่าแก่คู่กับศาสนาพราหมณ์ ศาสนาเชนเป็น ศาสนาอเทวนิยม ผู้สถาปนาศาสนาเชน คือ ฤษภาและอาริษตาเนมิ ศาสดาองค์สำคัญที่ได้รับการนับถือในปัจจุบันคือ พระมหาวีระ

4 ศาสนาเชน ความหมาย ศาสนาแห่งผู้ชนะ(ชนะตนเอง)
ความหมายของศาสนาเชน ไชน์ เชน ชินะ ผู้ชนะ ไยน์ ศาสนาเชน ความหมาย ศาสนาแห่งผู้ชนะ(ชนะตนเอง) การตั้งชื่อศาสนาเป็นตามเนมิตกนามหรือนามเกียรติยศของผู้เป็นศาสดาหรือผู้ก่อตั้ง ศาสนาเชน เกิดจากการปฏิรูปศาสนาพราหมณ์ และ ฮินดู ในด้านคำสอน,ความเชื่อถือและ ศาสนพิธี

5 ศาสดาของศาสนาเชน กษัตริย์สิทธารถะ พระนางตริศลา มหาวีระ เจ้าหญิงยโสธรา
นามเดิม “วรรธมาน” แปลว่า ผู้เจริญมีกำเนิดใน กุลกษัตริย์ เมืองเวสาลี อโนชา

6 คัมภีร์ของศาสนาเชน คัมภีร์ อังคะ [อาคม]
จารึกคำบัญญัติหรือวินัยที่เป็นไปเกี่ยวกับความประพฤติปฏิบัติของนักพรตหรือคฤหัสถ์ผู้ครองเรือน คัมภีร์ สิทธานตะ กล่าวถึงเรื่องราวประเภทชาดกในศาสนา

7 นิกายของศาสนาเชน นิกายทิคัมพร นิกายเศวตัมพร
นักบวชจะต้องสละทรัพย์สินทั้งหมด เพราะผู้ที่หลุดพ้นแล้วจากกิเลสจะไม่ติดไม่ยึดอยู่ในอะไรทั้งสิ้น ต้องปฏิบัติตามปัญจมหาพรตม,สำรวม 5,เปลือยกาย * นิกายนี้มีเฉพาะเพศชายเท่านั้น นิกายเศวตัมพร นักบวชจะนุ่งห่มขาว ถือว่าปกปิดร่างกายไม่ให้อุจาดตาเท่านั้น ไม่ใช่เรื่องกิเลส ต้องปฏิบัติตามหมาพรต ทั้ง 5,ไม่บริโภคอาหารในเวลาค่ำคืน , รักษาความหมดจด * มีได้ทั้งเพศชาย และ เพศหญิง

8 หลักคำสอนของศาสนาเชน
หลักธรรมขั้นพื้นฐาน หลักโมกษะ หลักปรัชญา - อหิงสา - สัตยะ - อัสเตยะ - พรหมจรยะ - อปริครหะ ชญาน - ชีวะ - อชีวะ -สัมยัคทรรศนะ -สัมยัคญาณะ -สัมยัคจาริตะ มติชญาน ศรุติชญาน อวธิชญาน มนปรยายชญาน เกวลชญาน

9 พิธีกรรมของศาสนาเชน พิธียุสะนะ[ปัชชุสะนะ]
งานพิธีรำลึกถึงองค์ศาสดามหาวีระ ซึ่งเป็นงานพิธีกรรมทำให้มีความสงบ,การให้อภัยกัน,การเสียสละ,บริจาคทานแก่คนยากจน นิยมทำกันในปลายเดือนสิงหาคมหรือต้นเดือนกันยายน กระทำพิธีคราวละ 8 วันแบ่งเป็น 5 ระยะ ระยะที่ 1 ใน 3 วันแรก พวกฆราวาสต้องมารับคำสอนจากสงฆ์ทุกเช้า ระยะที่ 2 ในวันที่ 4 พวกฆราวาสต้องอ่านกัลปสูตร ระยะ ที่ 3 ในวันที่ 5 จะมีการประกอบพิธีใหญ่ ระยะที่ 4 ในวันที่ 6-7 นี้คงมีแต่การอ่าน กัลปสูตรอย่างเดียว ระยะ ที่ 5 ในวันที่ 8 มีการอ่านคัมภีร์ทุกคัมภีร์

10 พิธีกรรมของศาสนาเชน พิธีไกตระ
การจัดพิธีเคารพรูปองค์ศาสดา ปีละ 2 ครั้ง ครั้งละ 9 วัน ระหว่างเดือนพฤษภาคม - มิถุนายน และเดือนกันยายน - ตุลาคม พิธีระลึกถึงวันนิรวาณของมหาวีระ วันพระจันทร์เต็มดวงในเดือนตุลาคม - พฤศจิกายน ศาสนิกชนก็จะจุดตะเกียง เพื่อให้เกิดแสงสว่างไปทั้งร่างกายและจิตใจ พิธีญานปัญจมะ พิธีกรรมเคารพพระคัมภีร์ และมีการจาริกแสวงบุญไปยังภูเขา สะตรันชัย อันเป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์แห่งตีรถังกรองค์แรก


ดาวน์โหลด ppt ศาสนาเชน Jainism.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google