Service plan สาขาทารกแรกเกิดจังหวัดเพชรบูรณ์
ดูแลทารกแรกเกิดให้เป็นไปตามมาตรฐาน และมีคุณภาพชีวิตที่ดี วิสัยทัศน์ ให้บริการทารกแรกเกิดได้มาตรฐาน ครอบคลุมครบวงจรในจังหวัดเพชรบูรณ์ ภายใน 5 ปี เป้าประสงค์ ดูแลทารกแรกเกิดให้เป็นไปตามมาตรฐาน และมีคุณภาพชีวิตที่ดี
เป้าหมาย การดูแลทารกแรกเกิด พัฒนาคุณภาพการดูแลทางการแพทย์และความปลอดภัยของทารกทุกคน ค้นหาทารกแรกเกิดที่มีความเสี่ยงสูง วินิจฉัยและรักษาภาวะแทรกซ้อนอย่างเหมาะสมและทันท่วงที ส่งเสริมการเจริญเติบโตและพัฒนาการของทารก ทารกรอด ไม่พิการ และสมองดี
ยุทธศาสตร์การดำเนินงาน ยุทธศาสตร์ที่ 1 บูรณาการกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อป้องกันการคลอดก่อนกำหนด พัฒนาระบบการดูแลมารดากลุ่มเสี่ยงต่อการคลอดก่อนกำหนด ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาความรู้ ความสามารถของบุคลากรที่เกี่ยวข้องในแต่ละระดับสถานบริการ ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาระบบสารสนเทศ ระบบการส่งต่อเพื่อการจัดการและบริการที่มีประสิทธิภาพ ยุทธศาสตร์ที่ 4 เสริมสร้างภาคีเครือข่าย
คณะกรรมการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) กลุ่มบริการที่อาศัยความเชี่ยวชาญด้านทารกแรกเกิด นายแพทย์ประสงค์ วิทยถาวรวงศ์ นายแพทย์ทรงคุณวุฒิ(ด้านกุมารเวชกรรม) ประธานกรรมการ ดร.วิระวรรณ ถิ่นยืนยง รองนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดด้านส่งเสริมพัฒนา รองประธานกรรมการ กุมารแพทย์ จาก 4 โรงพยาบาล กรรมการ พยาบาลแผนก NICU กรรมการ หัวหน้าห้องคลอดโรงพยาบาลทุกแห่ง กรรมการ รวม จำนวน 30 คน
สถานการณ์ ปี 2558 ปี 2557 ปี 2558 จำนวนทารกเกิดมีชีพทั้งหมด 3,875 ปี 2557 (ต.ค.56-มี.ค.57) ปี 2558 (ต.ค.57-มี.ค.58) จำนวนทารกเกิดมีชีพทั้งหมด 3,875 3,756 จำนวนทารกแรกเกิดที่เสียชีวิตก่อนอายุ 28 วันทั้งหมด 13 8 อัตราการเสียชีวิตของทารกแรกเกิดอายุต่ำกว่า 28 วัน (Neonatal Mortality Rate : NMR) 3.35 2.13 อัตราการลดลงของ NMR ในปี 2558 เทียบกับ 2557 36.42 ที่มา : แบบรายงานอนามัยแม่และเด็กของจังหวัด ในเขต 2
สถานการณ์ ปี 2558 (ต.ค.57-มี.ค.58) ตัวชี้วัด เป้าหมาย จำนวน (N) ผลงาน (n) อัตรา/ ร้อยละ 1.อัตราทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม (LBW) ร้อยละ 7 3,756 360 9.58 2.อัตราการได้รับ antenatal steroid ก่อนการคลอด ในหญิงตั้งครรภ์ GA 24 -34 สัปดาห์อย่างน้อย 2 doses ร้อยละ 100 119 71 59.66 3.อัตราการเสียชีวิตในทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยมาก (very low birth weight: VLBW) ร้อยละ 10 21 1 4 4.อัตราการตรวจคัดกรอง ใน VLBW hearing (OAE) 55 100 5.อัตราการตรวจคัดกรองในทารกปกติ (OAE) >ร้อยละ 60 2,390 1,482 62.01
สถานการณ์ ปี 2558 (ต.ค.57-มี.ค.58) ตัวชี้วัด เป้าหมาย จำนวน (N) ผลงาน (n) อัตรา/ ร้อยละ 6.อัตราการเกิดภาวะพร่องออกซิเจนในทารกแรกเกิด (Birth asphyxia) น้อยกว่า 25 ต่อพันการเกิดมีชีพ 25 ต่อพัน 3,756 97 25.83 7.อัตราการเสียชีวิต และพิการรุนแรงใน moderate to severe asphyxia น้อยกว่า 30 ต่อพันการเกิดมีชีพ 30 ต่อพัน 12 3.19 8.อัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนขณะส่งต่อ <ร้อยละ 25 3 25 9.ความครอบคลุมของ neonatal transport service ร้อยละ 80 16 10 62.5 10.ความเพียงพอของจำนวนพยาบาลเฉพาะทางทารกแรกเกิด ที่ผ่านการอบรมระยะสั้น 4 เดือน (เป้าหมายพยาบาลปฏิบัติงานในNICU) ร้อยละ 70 21 9 42.86
สถานการณ์ น้ำหนักทารกแรกเกิด<2,500 กรัม สถานการณ์ น้ำหนักทารกแรกเกิด<2,500 กรัม เกณฑ์:ไม่เกินร้อยละ 7 ที่มา : แบบรายงานอนามัยแม่และเด็กของจังหวัด ในเขต 2
สถานการณ์ น้ำหนักทารกแรกเกิด<2,500 กรัม (ต.ค.57-มี.ค.58) สถานการณ์ น้ำหนักทารกแรกเกิด<2,500 กรัม (ต.ค.57-มี.ค.58) เกณฑ์:ไม่เกินร้อยละ 7 ที่มา : แบบรายงานอนามัยแม่และเด็กของจังหวัด ในเขต 2
สถานการณ์ อัตราการขาดออกซิเจนในทารกแรกเกิด สถานการณ์ อัตราการขาดออกซิเจนในทารกแรกเกิด เกณฑ์:ไม่เกิน 25 ต่อพันการเกิดมีชีพ) ที่มา : แบบรายงานอนามัยแม่และเด็กของจังหวัด ในเขต 2
สถานการณ์ อัตราการขาดออกซิเจนในทารกแรกเกิด (ต.ค.57-มี.ค.58) สถานการณ์ อัตราการขาดออกซิเจนในทารกแรกเกิด (ต.ค.57-มี.ค.58) เกณฑ์:ไม่เกิน 25 ต่อพันการเกิดมีชีพ) ที่มา : แบบรายงานอนามัยแม่และเด็กของจังหวัด ในเขต 2
สถานการณ์ ทารกเกิดก่อนกำหนด อายุครรภ์น้อยกว่า 37 สัปดาห์ ที่มา : แบบรายงานอนามัยแม่และเด็กของจังหวัด ในเขต 2
สถานการณ์ ทารกเกิดก่อนกำหนด อายุครรภ์น้อยกว่า 37 สัปดาห์ (ต. ค. 57-มี สถานการณ์ ทารกเกิดก่อนกำหนด อายุครรภ์น้อยกว่า 37 สัปดาห์ (ต.ค.57-มี.ค.58) ที่มา : แบบรายงานอนามัยแม่และเด็กของจังหวัด ในเขต 2
การดำเนินงานที่จำเป็นสำหรับทารก การควบคุมและการป้องกันการติดเชื้อ การควบคุมอุณหภูมิอย่างเหมาะสม การช่วยการดูแลทางเดินหายใจและการรักษาระบบทางเดินหายใจอย่างเหมาะสม ดูแลภาวะน้ำหนักตัวแรกเกิดลด ประเมินการขับถ่ายอุจจาระและปัสสาวะ ประเมินการแหวะนมและการอาเจียน เฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน การดูแลทางโภชนาการ การติดตามภาวะความผิดปกติที่อาจเกิดขึ้นทั้งระยะสั้นและระยะยาว
แผนงาน/โครงการ ปี 2558 1.พัฒนาศักยภาพบุคลากรการให้บริการทารกแรกเกิดอย่างมีคุณภาพตามมาตรฐาน 1.1 อบรมการช่วยฟื้นคืนชีพทารกในภาวะวิกฤต(resuscitation) 1.2 แผนอบรมพัฒนาองค์ความรู้และประสบการณ์ของพยาบาลวิชาชีพ 1.3 อบรมการป้องกันและรักษาภาวะแทรกซ้อนในทารกแรกเกิดก่อนกำหนด 1.4 อบรมเรื่อง เด็กที่มีพัฒนาการล่าช้า การวินิจฉัยและการดูแลช่วยเหลือ
แผนงาน/โครงการ ปี 2558 แรกเกิด แผนงาน/โครงการ ปี 2558 2.พัฒนาศักยภาพในการดูแลผู้ป่วยทารกแรกเกิดในสถานบริการลูกข่ายโดยเฉพาะก่อนและระหว่างส่งต่อ 2.1 การประชุมพัฒนาเครือข่ายการรับ-ส่งต่อทารกแรกเกิด จัดระบบการประสานงานก่อนและขณะส่งต่อ 2.2 การจัดทำ CPG.ในการดูแล ให้ครอบคลุมทั้งการดูแลมารดา ทารกปกติ ทารกป่วย ระดับอำเภอ จังหวัด 3. มีแผนความต้องการครุภัณฑ์ และอุปกรณ์ทางการแพทย์ให้เพียงพอด้านบริการทารก แรกเกิด 4.โรงพยาบาลเพชรบูรณ์ เปิด SICK NEWBORN จำนวน 10 เตียงให้บริการทารกป่วย 0-1 เดือนในเครือข่าย
ปัญหาอุปสรรค ปัญหาการส่งต่อ ผู้ป่วยกลับไปดูแลต่อเมื่อพ้นวิกฤตในเครือข่ายยังมีความพร้อมน้อย เครื่องมือและอุปกรณ์ มีไม่เพียงพอในการให้บริการ ทารกแรกเกิดมีภาวะความเสี่ยงสูง เช่น น้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม (LBW) คลอดก่อนกำหนด และภาวะ BA บุคลากร กุมารแพทย์ พยาบาลที่ให้บริการทารกแรกเกิดมีจำกัด
ข้อเสนอแนะ 3.การสร้างสภาพแวดล้อมในหอผู้ป่วยที่เอื้อการดูแลคุณภาพ 1. การพัฒนาศักยภาพของพยาบาลเฉพาะทาง 2.ขอสนับสนุนเครื่องมือ/อุปกรณ์ที่จำเป็นตามแผน เพื่อให้บริการได้ตามมาตรฐาน ทำให้ระบบ Referral system มีประสิทธิภาพมากขึ้น 3.การสร้างสภาพแวดล้อมในหอผู้ป่วยที่เอื้อการดูแลคุณภาพ
แผนความต้องการ ด้านอัตรากำลัง/บุคลากร ด้านอุปกรณ์ เครื่องมือ ครุภัณฑ์ทางการแพทย์ ด้านงบประมาณ
แผนความต้องการด้านบุคลากร ประเภทบุคลากร สถานที่ กรอบต้องการ ปัจจุบัน ปี58 ปี59 ปี60 กุมารแพทย์ทารกแรกเกิด รพ.เพชรบูรณ์ 1 รพ.หล่มสัก รพ.วิเชียรบุรี รพร.หล่มเก่า กุมารแพทย์ 8 3 2 สูติแพทย์ 4 พยาบาลเฉพาะทางทารกแรกเกิด/ (ปริญญาโท) 10 5/2 7 5 พยาบาลวิชาชีพ 20 6 9
แผนความต้องการด้านอุปกรณ์ ปี 2558 ลำดับ ความต้องการ รายการครุภัณฑ์ หน่วยนับ ราคาต่อหน่วย(บาท) หมายเหตุความจำเป็น 1 ตู้อบเด็กสำหรับลำเลียงทารกแรกคลอด (Transport Incubator) เครื่อง 500,000 อันดับ1 โรงพยาบาลชนแดน 1 เครื่อง อันดับ2 โรงพยาบาลหนองไผ่ 1 เครื่อง 2. OAE 350,000 อันดับ1 โรงพยาบาลวิเชียรบุรี 1 เครื่อง อันดับ2 รพร.หล่มเก่า 1 เครื่อง 3 Ventilator 900,000 4 Monitor NIBP(เด็ก) 200,000 อันดับ1 โรงพยาบาลหล่มสัก 1 เครื่อง
ผลงานเด่น ความภาคภูมิใจ(best practice) 1. ชื่อเรื่อง
ผลงานเด่น ความภาคภูมิใจ(best practice) 2. ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา เมื่อลูกน้อยเกิดมา อาหารที่สำคัญที่สุดก็คือ “น้ำนมจากมารดา” ซึ่งอุดมไปด้วยสารอาหารครบถ้วน ทารกที่ได้รับน้ำนมจากมารดาจะมีร่างกายแข็งแรงและยังมีภูมิคุ้มกันโรคต่างๆ และในการที่จะดูดนมมารดาได้เป็นอย่างดีนั้นจะต้องอาศัย “ลิ้น” ช่วยในการดูดด้วย แต่ปัญหามีอยู่ว่ายังมีทารกจำนวนหนึ่งที่มีพังผืดใต้ลิ้นผิดปกติจนเกิดอุปสรรคในการดูดนม เนื่องจากลิ้นเป็นอวัยวะสำคัญอย่างหนึ่งในการพูด โดยเฉพาะปลายลิ้นที่ต้องช่วยในขณะออกเสียงควบกล้ำ ดังนั้นในเด็กโตที่มีพังผืดยึดมาถึงบริเวณปลายลิ้นอาจพูดไม่ได้ พูดช้าและมีปมด้อยได้ นอกจากนี้ปลายลิ้นยังมีส่วนช่วยในการทำความสะอาดซอกฟัน จึงมีรายงานจากทางทันตแพทย์ว่า ภาวะลิ้นติดมากๆ อาจส่งผลถึงสุขภาพปากและฟันได้ด้วย
ผลงานเด่น ความภาคภูมิใจ(best practice) 3. วัตถุประสงค์
ผลงานเด่น ความภาคภูมิใจ(best practice) 4. วิธีดำเนินการ
ผลงานเด่น ความภาคภูมิใจ(best practice) 5. ผลการดำเนินการ
ผลงานเด่น ความภาคภูมิใจ(best practice) 6. อภิปรายผล
ผลงานเด่น ความภาคภูมิใจ(best practice) 7. ความภาคภูมิใจ
สวัสดี