แนวทางการจัดบริการด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
การจัดสรรตำแหน่งและการ คัดเลือก เพื่อบรรจุลูกจ้างชั่วคราวเข้า รับราชการ.
สภาพปัญหา / สาเหตุของปัญหา กระบวนการวางแผน/แนวทางการพัฒนา
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการ กรม สำนักงานสหกรณ์จังหวัด สระบุรี ( กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการ จัดการสหกรณ์ ) ข้อมูล ณ วันที่ 25 ธันวาคม โครงการตามนโยบายรัฐบาล.
บริการฉับไว ไร้ความแออัด โรงพยาบาลแพร่.  430 เตียง  บุคลากร 1,126 คน  ประชากรจังหวัดแพร่ ~ 477,796 คน  ประชากรอำเภอเมือง ~ 128,073 คน  จำนวนผู้ป่วยนอก.
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
โครงการ “ฟันเทียมพระราชทาน”
ประชุมติดตามผลการดำเนินงานเกณฑ์มาตรฐานระบบงานเยี่ยมบ้าน
โรงพยาบาลอ่างทอง ชื่อผู้ติดต่อ นางรัตนา งิ้ววิจิตร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงาน เวชกรรมสังคม โทรศัพท์ อีเมล์
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ผลการดำเนินงานต่อเนื่องของ service plan
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
การประชุมหารือกรอบการ พัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) กรมการ แพทย์ นายแพทย์ณรงค์ อภิกุลวณิช รองอธิบดีกรมการแพทย์ วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2558.
2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง ตัวชี้วัดระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้าน บริการ อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ประเด็น / ตัวชี้วัดผลงาน 1. การกำกับดูแลคุณภาพน้ำบริโภคในภาชนะ.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
การปฐมนิเทศ ข้าราชการใหม่ “ หลักสูตรการเป็น ข้าราชการที่ดี ” เขตสุขภาพที่ 2 ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ CHRO ณ 26 พค
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
Free Powerpoint Templates Page 1 นพ. เกรียงศักดิ์ พิมพ์ดา ประธานคณะกรรมการฯ.
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
Service Plan 5 สาขาหลัก.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร ภก.กิตติศักดิ์ ไท้ทอง
การบริหารจัดการงบค่าเสื่อม ปี 2561
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
SP สาขาอุบัติเหตุและฉุกเฉิน
ร้อยละของผู้ป่วย DM, HT ที่ได้รับการค้นหาและคัดกรองโรคไตเรื้อรัง เขตสุขภาพที่ 3 ปี 2557 – 2560(Q2)
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
แนวทางการบริหารงบค่าใช้จ่ายการตรวจคัดกรองและตรวจยืนยันมะเร็งลำไส้ใหญ่
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
การบริหารการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2562
งาน Palliative care.
ยุทธศาสตร์ ที่ 2 Service Excellence (ยุทธศาสตร์ด้านบริการเป็นเลิศ)
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
RF COC /Palliative care.
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ปัญหาของข้อมูลในระบบHDC
ความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงาน
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
การดำเนินงานคุณธรรม และความโปร่งใส
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
แนวทางปฏิบัติ กรมป่าไม้
ผู้สูงอายุ เขตสุขภาพที่ 3
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
รพ.สต.สายใยรัก อำเภอสัตหีบ
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
การพัฒนาคุณภาพบริการและเครือข่ายสุขภาพ
การดำเนินงานทรัพยากรบุคคล ปี 2560
ถอดรหัสตัวชี้วัด Service plan สาขา Palliative care
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงาน แพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
ชาลิณี ปิยะประสิทธิ์ สปสช.เขต 10 อุบลราชธานี 21 กันยายน 2560
ครั้งที่ 7/2560 สรุปผลการประชุม คณะอนุกรรมการด้านบริการ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
กิจกรรมหลัก ภาคกลาง 12กันยายน 2560
งานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ จังหวัดเชียงใหม่
ศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศ ตัวชี้วัดกรม ตัวชี้วัดตามภารกิจหน่วยงาน แบบวิเคราะห์การถ่ายทอดตัวชี้วัด ความเชื่อมโยงการถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับหน่วยงานลงสู่ระดับกลุ่มงาน.
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
จังหวัดสมุทรปราการ.
สรุปผลการดำเนินงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) ไตรมาส 4 ปีงบประมาณ 2560
สาขาสุขภาพช่องปาก เขตสุขภาพที่ 2
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
ระบบบริการสาขาสุขภาพจิตและจิตเวช และยาเสพติด เขตสุขภาพที่ 3 ปีงบประมาณ – 9 พฤษภาคม 2560 โรงพยาบาลสวรรค์ประชารักษ์
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ Service plan สาขา SEPSIS เขตสุขภาพที่ 11
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการจัดบริการด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก โดย นายแพทย์ชัยวัฒน์ ทองไหม นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดเพชรบูรณ์ ประธานอนุกรรมการพัฒนาระบบบริการ (service plan)สาขาแพทย์แผนไทย เขตสุขภาพที่ 2

Health Need แพทย์แผนไทย Health need แพทย์แผนไทย อดีต : มีการใช้ยาแพทย์แผนไทยน้อย ปัจจุบัน : การเข้าถึงบริการมากขึ้น โดย มีคลินิกเฉพาะโรคในโรงพยาบาล และมีการออกหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ ร่วมกับ พอ.สว. อนาคต : - การนำการแพทย์แผนไทยที่โดดเด่นและมีข้อมูลวิชาการสนับสนันมาใช้ ร่วมดูแลผู้ป่วยแบบผสมผสานกับแพทย์แผนปัจจุบันและสหวิชาชีพ (Comprehensive approach) - ลดช่องว่าง(Gab)ระหว่างแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กับ แพทย์แผนปัจจุบัน - การร่วมปรึกษาหารือการดูแลผู้ป่วย (Consultation) ระหว่างแพทย์แผนไทย กับแพทย์และทีมสหวิชาชีพ การพัฒนาระบบบริการ สาขาแพทย์แผนไทย KPI Outcome KPI service KPI service 1.ผู้ป่วยนอกที่มารับบริการด้านการแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก ร้อยละ 18 2.พัฒนารูปแบบบริการคลินิกแพทย์แผนไทยที่แผนกผู้ป่วยนอกของโรงพยาบาล (OPD คู่ขนาน) 70 % 3. พัฒนารูปแบบคลินิกบริการครบวงจรด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 80 % กิจกรรมหลัก 1.มีแพทย์แผนไทยมีใบประกอบวิชาชีพ ตรวจวินิจฉัยและสั่งการรักษาที่แผนกผู้ป่วยนอก 2.แพทย์แผนไทย ทำหน้าที่ ไม่น้อยกว่า 2 วัน 3.มีระบบคัดกรองผู้ป่วยโดยพยาบาลคัดกรอง 4.มีรายการยาแผนไทยไม่น้อยกว่า 30 รายการ กิจกรรมหลัก จัดบริการคลินิกแบบครบวงจรด้านศาสตร์การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก (บริการการแพทย์แผนไทย = เวชกรรมไทย/เภสัชกรรมไทย/ผดุงครรภ์ไทย/นวดไทย)(บริการการแพทย์ทางเลือก = การแพทย์แผนจีน/แพทย์ทางเลือกอื่นๆ Palliative Careในผู้ป่วยกลุ่มอาการที่แพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือกรักษาแล้วเห็นผลดีและชัดเจน ได้แก่ โรคข้อเข่าเสื่อม โรคไมเกรน โรคอัมพฤกษ์/อัมพาต โรคภูมิแพ้ทางเดินหายใจส่วนต้น มาตรการ Health Need แพทย์แผนไทย Health need แพทย์แผนไทย 1.การจัดตั้งคณะกรรมการ SP ระดับ 2.การจัดระดับบริการการแพทย์แผนไทย 3 ระดับ (Advanced , Intermediate , Basic) 3.ส่งเสริมสนับสนุนให้การจัดบริการแบบผสมผสาน ร่วมกับทีมสหวิชาชีพโดยเน้นปัญหาของผู้ป่วยเป็นที่ตัวตั้ง - ลดช่องว่าง(Gab)ระหว่างแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กับ แพทย์แผนปัจจุบัน - การร่วมปรึกษาหารือการดูแลผู้ป่วย (Consultation) ระหว่างแพทย์แผนไทย กับแพทย์และทีมสหวิชาชีพ การนำการแพทย์แผนไทยที่โดดเด่นและมีข้อมูลวิชาการสนับสนันมาใช้ ร่วมดูแลผู้ป่วยแบบผสมผสานกับแพทย์แผนปัจจุบันและสหวิชาชีพ (Comprehensive approach)

ผลการดำเนินงานด้านแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก ระดับประเทศ ร้อยละผู้ป่วยนอกมารับบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก เขตสุขภาพ ข้อมูลเว็บ Health script กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยฯ ณ 3 พ.ค. 59

ผลการดำเนินงานด้านแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก ระดับเขตสุขภาพที่ 2 ร้อยละผู้ป่วยนอกมารับบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก จังหวัด ข้อมูลเว็บ Health script กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยฯ ณ 3 พ.ค. 59

ผลการจัดบริการ OPD คู่ขนาน ในเขตสุขภาพที่ 2 ปี 2559 เกณฑ์ 70% จังหวัด ข้อมูล ตก.1 ปี 2559 ณ 12 พ.ค. 59

ข้อมูลมูลค่าการใช้ยา/ยาแผนไทย ปี 2558 ประเภท รพ. จังหวัดอุตรดิตถ์ จังหวัดตาก จังหวัดสุโขทัย จังหวัดพิษณุโลก จังหวัดเพชรบูรณ์ รวมทั้งเขต รพศ./รพท. มูลค่ายารวม 7,137,075.96 7,223,798.83 25,049,630.00 16,017,500.40 3,397,694.47 58,825,699.66 มูลค่ายาสมุนไพร 27,986.25 105,734.50 96,453.00 39,337.50 25,260.25 294,771.50  ร้อยละ 1 คิดเป็นร้อยละ 0.39 1.46 0.25 0.74 0.50 รพช. 3,711,677.22 4,958,291.94 4,008,523.56 5,909,666.29 6,719,734.37 25,307,893.38   146,267.05 226,359.00 89,449.05 819,821.15 215,177.85 1,497,074.10  ร้อยละ 5 3.94 4.57 2.23 13.87 3.20 5.92 รพ.สต. 1,099,119.08 2,515,096.27 2,070,250.42 3,102,229.72 3,882,041.46 12,668,736.95 199,599.85 176,050.66 415,501.81 278,024.90 316,747.41 1,385,924.63  ร้อยละ 20 18.16 7.00 20.07 8.96 8.16 10.94 ข้อมูลเว็บ Health script กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยฯ ณ 12 พ.ค. 59

สถานการณ์เขตสุขภาพที่ 2 ปีงบประมาณ 2559 KPI Service ปี 2559 สถานการณ์เขตสุขภาพที่ 2 ปีงบประมาณ 2559 1.1 ร้อยละOPD Caseได้รับบริการการแพทย์แผนไทยฯ ร้อยละ 17.07(18%) 1.2 เปิดบริการคลินิกการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสานที่แผนกผู้ป่วยนอกใน รพศ. รพท.และรพช. (A-F3) 36 แห่งจาก 47 แห่ง ร้อยละ 76.59 (70%) 1.3บริการคลินิกครบวงจรที่มีการรักษาโรคทั่วไปและเฉพาะโรคเช่นไมเกรน,ข้อเข่าเสื่อ,อัมพฤกษ์,อัมพาต,ภูมิแพ้อย่างน้อย๑คลินิกในรพศ./รพท. (A-M1) จำนวน 3 แห่งจาก 7 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 42.85 (ร้อยละ 80)

ปัญหา/อุปสรรค ปัญหา/อุปสรรค : แพทย์แผนไทยมีกรอบอัตรากำลังมีไม่เพียงพอส่งผลให้ความก้าวหน้าของบุคลากร 1. พัฒนาระบบยาแผนไทย โดยการตั้งโรงงานผลิตยาแผนไทย ณ รพ.แพทย์แผนไทย 2. พัฒนาระบบศักยภาพตามวิชาชีพแพทย์แผนไทย ในด้านการรักษาแพทย์แผนไทยอย่างต่อเนื่อง 3. ส่งเสริมสนับสนุนให้การจัดบริการแบบผสมผสาน ร่วมกับทีมสหวิชาชีพโดยเน้นปัญหาของผู้ป่วยเป็นตัวตั้ง 4.พัฒนารูปแบบคลินิกบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกในโรงพยาบาล ( S – F3) 5. แพทย์แผนไทยมีกรอบอัตรากำลังมีไม่เพียงพอส่งผลให้ความก้าวหน้าของบุคลากร ไม่จัดบริการบนแผนกผู้ป่วยนอก เพื่อลดความแออัดที่แผนกผู้ป่วยนอกรและในช่วงเวลาที่แพทย์แผนปัจจุบันไม่ได้ให้บริการตรวจ ก็ยังไม่มีผู้รับบริการแพทย์แผนไทยมารับบริการที่แผนกผู้ป่วยนอก

Health Need การบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการรักษาด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยฯ ผู้รับบริการ การเป็นทางเลือกในการรักษาให้กับผู้ป่วยในโรคที่การแพทย์แผนไทยมีข้อมูลวิชาการสนับสนุนมาใช้ร่วมดูแลผู้ป่วยแบบผสมผสานกับการแพทย์แผนปัจจุบัน หรือโรคที่เป็นปัญหาด้านสุขภาพของพื้นที่ที่การแพทย์แผนไทยสามารถรักษาได้ ผู้ให้บริการ Service Gaps สาขาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก การยังขาดข้อมูลด้านวิชาการในการมาสนับสนุนให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการรักษาด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย บุคลากรแพทย์แผนไทย ยังขาดทักษะ ประสบการณ์ในการรักษาด้วยการแพทย์แผนไทยฯ ขาดสถานที่ เครื่องต้มยาสมุนไพร วัสดุ-ครุภัณฑ์ ยาแผนไทย ในการให้บริการการแพทย์แผนไทย แพทย์แผนไทย ยังมีจำนวนไม่เพียงพอต่อการให้บริการ

Designed Service สาขาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก มีการตรวจ วินิจฉัย ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยตามมาตรฐาน (โรงพยาบาลส่งเสริมและสนับสนุนการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก มาตรฐาน รพ.สส.พท) จัดหายา จัดเก็บยา จ่ายยาแผนไทยที่มีคุณภาพมาตรฐานและการติดตามเฝ้าระวังผลข้างเคียงของการใช้ยาแผนไทย มีการทำงานการแพทย์แผนไทยหรือการแพทย์ทางเลือกหรือการแพทย์พื้นบ้าน เชิงรุก มีการจัดบริการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย Pallaitive Care ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยหรือการแพทย์ทางเลือกอื่นๆ

Designed Service สาขาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 5. มีบริการสมาธิบำบัดในการดูแล 6. มีการตรวจ วินิจฉัย ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนจีนโดยผู้ประกอบโรคศิลปะสาขาการแพทย์แผนจีน หรือ ผู้ประกอบโรคศิลปะสาขาเวชกรรม ซึ่งผ่านการอบรมหลักสูตรฝังเข็ม (3 เดือน) ที่รับรองโดยกระทรวงสาธารณสุข 7. มีการจัดบริการคลินิกแพทย์แผนไทยที่แผนกผู้ป่วยนอกของโรงพยาบาลรัฐ (OPD คู่ขนาน) และจัดบริการคลินิกแพทย์แผนจีนที่แผนกผู้ป่วยนอกของโรงพยาบาลรัฐ 8. มีคลินิกบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกครบวงจร และจัดบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก เพื่อให้บริการรักษาโรคทั่วไปและเฉพาะโรค เช่น โรคไมเกรน โรคข้อเข่าเสื่อม โรคอัมพฤกษ์/อัมพาต โรคภูมิแพ้ทางเดินหายใจส่วนต้น

Designed Service สาขาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 9. มีการรักษาพยาบาลด้วยการแพทย์แผนไทยและแพทย์แผนจีนแก่ผู้ป่วยใน (IPD) ร่วมกับแพทย์แผนปัจจุบัน 10. เป็นแหล่งฝึกประสบการณ์วิชาชีพด้านการแพทย์แผนไทย 11. เป็นแหล่งเพิ่มพูนทักษะวิชาชีพด้านการแพทย์แผนไทย 12. ศึกษาวิจัย หรือร่วมศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนาด้านการแพทย์แผนไทยหรือการแพทย์ทางเลือก

Supportive System-Governance 1.กำหนดบทบาทหน้าที่และผู้รับผิดชอบการดำเนินงาน Service Plan สาขาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเพชรบูรณ์ 2.การแต่งตั้งหัวหน้ากลุ่มงานการแพทย์แผนไทยฯใน รพท./รพช. 3.การแต่งตั้งที่ปรึกษา (แพทย์แผนปัจจุบัน) งานการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 4.มีคณะกรรมการพัฒนาระบบบริการสุขภาพสาขาการแพทย์แผนไทยฯ ระดับเขต/จังหวัด 5.มีการจัดทำรายการยาสมุนไพรที่มีสรรพคุณทดแทนกับยาแผนปัจจุบัน สสจ. ผลักดันให้คณะกรรมการเภสัชกรรมและการบำบัด ของแต่ละ รพ. บรรจุเข้าเป็นยา รพ. ตามความเหมาะสมอย่างน้อย 5 รายการ 6.คณะกรรมการระดับเขต /จังหวัด ทำหน้าที่ประเมินบริการตามแผนพัฒนาสุขภาพสุขภาพสาขาการแพทย์แผนไทยฯ

Supportive System-HR การจัดกิจกรรมด้านวิชาการในระดับจังหวัดและระดับหน่วยบริการ (ตั้งคณะทำงานวิชาการ 4 โรค โรคอัมพฤกษ์ อัมพาต โรคไมเกรน โรคข้อเข่าเสื่อม และโรคทางเดินหายใจส่วนต้นและโรคอื่น ตามบริบทของพื้นที่,การจัดประชุมวิชาการ,การกำหนด CPG 4 โรค,การทำ Case Conference,การวิเคราะห์รายงานผล Adverse drug reaction: ADR, Autual use research:AUR) การจัดทำแผนกำลังคนด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก มีการชี้แจงการดำเนินงานการแพทย์แผนไทยฯในหน่วยบริการในการปฐมนิเทศบุคลากรใหม่ ได้แก่แพทย์ พยาบาล และสหวิชาชีพ

Supportive System-Med.&Tech 1. มีการจัดทำรายการยาสมุนไพรที่มีสรรพคุณทดแทนกับยาแผนปัจจุบัน สสจ. ผลักดันให้คณะกรรมการเภสัชกรรมและการบำบัด ของแต่ละ โรงพยาบาลบรรจุเข้าเป็นยา โรงพยาบาลตามความเหมาะสมอย่างน้อย 5 รายการ

การพัฒนาส่วนขาด 1. โรงงานผลิตยาแผนไทย จังหวัดเพชรบูรณ์ (ไม่มี) 2. โรงงานผลิตยาแผนไทยที่ยังไม่ผ่าน GMP (รพ.บ้านตาก,รพ.สวรรคโลก) 3. โรงพยาบาลการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก(ตาก,อุตรดิตถ์,สุโขทัย) 4.พัฒนารูปแบบคลินิกบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกในโรงพยาบาล ( A,S,M1,2,F1-3 )

รวมงบประมาณทั้งหมดรายปี สรุปงบประมาณการดำเนินงานตามแผน Service Plan สาขาแพทย์แผนไทยฯ เขตสุขภาพที่ 2 ปีงบประมาณ61 – 65 ปีงบประมาณ ขนาดหน่วยบริการ งบประมาณครุภัณฑ์ สิ่งก่อสร้าง/ระบบอำนวยความสะดวก รวมงบประมาณทั้งหมดรายปี 2561 A,S, รพ.พท 1,820,000 36,540,000 73,929,800 M1,2 F1 - 3 4,604,500 16,000,000 P 3,429,5000 11,535,800 รวมงบปี 2561 9,854,000 64,075,800 2562 1,750,000 550,000 16,948,900 5,617,000 2,264,000 6,767,900 รวมงบปี 2562 9,631,000 7,317,900 2563 420,000 16,365,800 2,560,000 4,767,900 1,850,000 รวมงบปี 2563 4,830,000 2564 360,000 11,176,900 2,187,000 1,862,000 รวมงบปี 2564 4,409,000 2565 1,430,000 53,640,800 2,750,000 40,767,900 1,925,000 รวมงบปี 2565 6,105,000 47,535,800 รวมงบยอดเงินทั้ง 5 ปี 172,062,200.00

รายการสิ่งก่อสร้าง Service plan สาขาแพทย์แผนไทย ระดับหน่วยบริการ (A,S ,M1,2 ,F1-3,P) สิ่งก่อสร้าง 61 จำนวนชิ้น 62 63 64 65 S ,M ,F, รพ.แพทย์ไทย, P ภาพรวม 5 จังหวัด อาคารแพทย์แผนไทยแบบเลขที่ 9728 ราคา 4,767,900 บาท 1 2 3 อาคารตากและอบสมุนไพรแบบเรือนกระจกขนาด 120 ตารางเมตร 540,000 บาท อาคารที่มีการออกแบบเอง (ตามบริบทของพื้นที่) 4 ระบบสาธารณูปโภค

ครุภัณฑ์ที่มีความจำเป็นและเหมือนกันในภาพรวมเขต ระดับหน่วยบริการ (A,S ,M1,2 ,F1-3,P) รายการครุภัณฑ์ 61 จำนวนชิ้น 62 63 64 65 S ,M ,F, รพ.แพทย์ไทย, P ภาพรวม 5 จังหวัด หม้อต้มยาสมุนไพรแบบสำเร็จรูปแบบ 2 หัวต้ม (สอบราคาจากหน่วยบริการที่เคยจัดซื้อราคาต่อเครื่อง 120,000 บาท) 25 23 20 17 2. ตู้อบไอน้ำสมุนไพร ขนาด 2 – 3 คนนั่ง (สอบราคาจากหน่วยบริการที่เคยจัดซื้อราคาต่อเครื่อง 25,000 บาท) 16 21 3. ตู้ไม้เก็บยาสมุนไพรแบบ20ลิ้นชัก สอบราคาจากหน่วยบริการที่เคยจัดซื้อราคาต่อเครื่อง 20,000 บาท) 43 7 30 4. ครุภัณฑ์ในการผลิตยาสมุนไพร (ครุภัณฑ์ในการผลิตยาแผนไทยเช่น เครื่องบด เครื่องผสม เป็นต้น) 22 19 6 4 5. อื่นๆ เช่น รถยนต์ ตู้ เตียง ฯลฯ 5

Workforce (กำลังคนด้านแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก) บุคลากร หลักสูตรการพัฒนาบุคลากร 1. แพทย์แผนไทย หลักสูตรฝึกฝนประสบการณ์เวชปฏิบัติแผนไทย หลักสูตรเพิ่มพูนประสบการณ์การใช้ยาแผนไทยและยาในบัญชียาหลักแห่งชาติ 2. เจ้าหน้าที่ผู้มีใบประกอบวิชาชีพ แพทย์แผนไทย/ประยุกต์ 3. เจ้าพนักงานสาธารณสุข (แพทย์แผนไทย/อายุรเวช) เพิ่มพูนความรู้ในการสอบใบประกอบวิชาชีพด้านแพทย์แผนไทย 4. ผู้ช่วยแพทย์แผนไทย หลักสูตรผู้ช่วยแพทย์แผนไทย 330 /800/1200 ชั่วโมง 5. แพทย์แผนปัจจุบัน (ผู้ประกอบโรคศิลปะสาขาเวชกรรม) ที่ผ่านการอบรม ฝังเข็ม 3 เดือน ที่กระทรวงสาธารณสุขรับรอง เพิ่มจำนวนแพทย์ผู้ผ่านการอบรม ฝังเข็ม 3 เดือน 6. แพทย์แผนจีน หากรอบอัตรากำลังของแพทย์แผนจีน ในสถานบริการของรัฐ 7. หมอพื้นบ้าน สร้างเครือข่ายและพัฒนาระบบการส่งต่อผู้ป่วย ระหว่างหมอพื้นบ้านและแพทย์แผนไทย 8. ทีมสหวิชาชีพ หลักสูตรการสั่งการรักษาทางการแพทย์แผนไทย สำหรับเจ้าหน้าที่ อนามัย