งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ร้อยละของผู้ป่วย DM, HT ที่ได้รับการค้นหาและคัดกรองโรคไตเรื้อรัง เขตสุขภาพที่ 3 ปี 2557 – 2560(Q2)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ร้อยละของผู้ป่วย DM, HT ที่ได้รับการค้นหาและคัดกรองโรคไตเรื้อรัง เขตสุขภาพที่ 3 ปี 2557 – 2560(Q2)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สรุปการประชุม กรมการแพทย์ พบ เขต 3 สาขาโรคไต และ สาขารับบริจาคและปลูกถ่ายอวัยวะ

2 ร้อยละของผู้ป่วย DM, HT ที่ได้รับการค้นหาและคัดกรองโรคไตเรื้อรัง เขตสุขภาพที่ 3 ปี 2557 – 2560(Q2)
เฉลี่ยประเทศ ปี 60=23.75% เฉลี่ยประเทศ ปี 59=62.26% ที่มา : HDC วันที่ 31 มีนาคม 2560

3 ร้อยละของผู้ป่วย DM, HT เป็นโรคไตเรื้อรังรายใหม่ (ในปีงบประมาณ) เขตสุขภาพที่ 3 ปี 2557 – 2560 (Q2)
เฉลี่ยประเทศ ปี 59=25.5% ปี 60 = 27.09% ที่มา : HDC วันที่ 31 มี.ค.2560

4 ร้อยละการชะลอความเสื่อมของไต ผู้ป่วยมีอัตราการลดลงของ eGFR < 4 ml/min/1.73 m2/yr เขตสุขภาพที่ 3 ปี 2557 – 2560(Q2) เฉลี่ยประเทศ ปี 59=64.29% ปี 60=62.71% ที่มา : HDC วันที่ 31 มีนาคม 2560

5 ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังที่มารับบริการ จำแนกตาม Stage
ปีงบประมาณ เขตสุขภาพที่ 3

6 ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังที่มารับบริการ จำแนกตาม Stage
ปีงบประมาณ เขตสุขภาพที่ 3

7 จำนวนผู้ป่วยไตเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ต้อง RRT รายใหม่ปี 2559
จังหวัด ประชากร UC ณ กย.58 Prevalance ต่อล้านประชากร จำนวนผู้ป่วย New case 1ปี Incidence ชัยนาท 307,132 นครสวรรค์ 649,522 อุทัยธานี 278,781 กำแพงเพชร 644,337 พิจิตร 464,485 รวมเขต 2,344,257 รวมประเทศ 48,259,953 803.61 13,317 275.94

8 จำนวนบุคลากรที่ปฏิบัติงาน ในการบำบัดทดแทนไต
ปี งบประมาณ 2559 เขตสุขภาพที่ 3 จังหวัด อายุร แพทย์ โรคไต อบรม 4เดือน ศัลยแพทย์ ผ่าตัด เส้นเลือด แพทย์ผ่าตัด วางสาย TK อัตราส่วน ปชก.ต่อแพทย์โรคไต พยาบาล HD อัตราส่วน พยาบาลHDต่อผู้ป่วยHD CAPD พยาบาลCAPDต่อผู้ป่วยCAPD ชัยนาท (1) 1 - นครสวรรค์ 3(1) อุทัยธานี กำแพงเพชร 1(1) พิจิตร รวม

9 บุคลากรที่ปฏิบัติงาน ใน CKD Clinic ปีงบประมาณ 2559 เขตสุขภาพที่ 3
จังหวัด   เภสัชกร นักโภชนาการ นักกายภาพ ชัยนาท S = 1/1 , F1= F2= , F3= S = 1/1 , F1= F2= ,F3= นครสวรรค์ A = 1/1 M2= , F1= F2= 1/1 ,F3= อุทัยธานี กำแพงเพชร S = 1/1 M2= , F1= S = 1/1 M2= , F1= S = 1/1 M2= , F1= พิจิตร S =1/1 M2= , F1= รวม(ขาด)

10 จำนวนอวัยวะที่ได้รับบริจาคจากภาวะสมองตาย
เดือน ต.ค.59 พ.ย.59 ธ.ค.59 ม.ค.60 ก.พ.60 มี.ค.60 รวม ไต (ข้าง) 2 4 6 14 ดวงตา(ข้าง) 8 24 หัวใจ   - 1 ปอด ตับอ่อน/ตับ  1 ผิวหนัง

11 จำนวนผู้แสดงความจำนงบริจาคอวัยวะและดวงตารายใหม่
ไตรมาสที่ 1/2560 จังหวัด นครสวรรค์ กำแพงเพชร อุทัยธานี ชัยนาท พิจิตร รวม อวัยวะ 471 140 102 51 116 880 ดวงตา 399 346 63 43 228 1078

12 โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคไต
กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะกรรมการการพัฒนาระบบบริการ Service Plan สาขาไต ระดับเขตสุขภาพที่ 3 กิจกรรมที่ 2 ประชุมชี้แจงนโยบายและเป้าหมายในการดำเนินการของ Service Plan สาขาไต ระดับเขตสุขภาพที่ 3 กิจกรรมที่ 3 พัฒนาศักยภาพเครือข่ายพยาบาลที่ดูแลผู้ป่วยโรคไต ในระดับ โรงพยาบาลชุมชนและ รพ.สต. กิจกรรมที่ 4 พัฒนาศักยภาพเครือข่ายพยาบาลที่ดูแลผู้ป่วยโรคไตระดับโรงพยาบาลเรื่องการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง กิจกรรมที่ 5 ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้พยาบาล CAPD ระดับเขตสุขภาพที่ 3

13 วิเคราะห์การดำเนินงานคลินิกชะลอไตเสื่อม
เป้าหมายการดำเนินงาน ผลการดำเนินงาน ปัญหา อุปสรรค มีคลินิกชะลอไตเสื่อมใน รพ.ระดับ ตั้งแต่ F2 ขึ้นไป 100% และ F3 >50% ในปี 2560 ปัจจุบันทุก รพ. เปิดบริการครบ 100% ใน F2 และ รพ. เปิดบริการ 80% ใน F3 มีองค์ประกอบการดำเนินงานไม่สมบูรณ์ มี สหวิชาชีพ 5 สาขาให้บริการในคลินิกครบทุกสาขา มีการให้บริการแบบสหวิชาชีพแต่ขาด นักกำหนดอาหาร นักกายภาพบำบัด ไม่มีตำแหน่งนักกำหนดอาหารใน รพช. (ซึ่งจำเป็นใน CKD และ NCD clinic และการทำงานในระดับชุมชน) เภสัชต้องการเรียนต่อด้าน CKD แต่ไม่มีหลักสูตร มีการตรวจ serum Cr ด้วย enzymatic method ครบ 100% ในปี 2560 ปัจจุบันทุก รพ. เปิดบริการครบ 100%

14 วิเคราะห์การดำเนินงานคลินิกชะลอไตเสื่อม
เป้าหมายการดำเนินงาน ผลการดำเนินงาน ปัญหา อุปสรรค มีการคัดกรอง CKD ในผู้ป่วย DM, HT เป้าหมายปี 2560 >80% ปี 2559 : 83.41% ต่ำกว่าเป้า เกิดจากปัญหาการเทคนิคของการรายงานผ่านระบบ HDC ผู้ป่วย CKD สามารถชะลอความเสื่อมไตได้ตามเป้าหมาย (eGFR ลดลง <4 mL/min/1.73m2/yr) เป้าหมายปี >65% ปี 2559 : 63.89%

15 วิเคราะห์การดำเนินงาน hemodialysis
เป้าหมายการดำเนินงาน ผลการดำเนินงาน ปัญหา อุปสรรค การเริ่ม dialysis แบบ emergency ในผู้ป่วย ESRD เป้าหมายปี <20% มีบริการ hemodialysis ใน รพ.ระดับ A,S,M1 ทุกโรง ครบ 100% มีปัญหาการควบคุมคุณภาพศูนย์ HD โดยเฉพาะศูนย์ outsource มีบริการสร้างและซ่อม vascular access เพียงพอ ไม่เพียงพอ ขาดศัลยแพทย์ที่สามารถทำ AVF/AVG ขาด interventionist ที่ทำ angioplasty

16 วิเคราะห์การดำเนินงาน peritoneal dialysis
เป้าหมายการดำเนินงาน ผลการดำเนินงาน ปัญหา อุปสรรค มีบริการ peritoneal ใน รพ.ระดับ A,S,M1 ทุกโรง ครบ 100% สัดส่วนผู้ป่วย : PD nurse เกินมาตรฐาน 50 : 1 ยังมีบริการวางสาย PD catheter ไม่เพียงพอและระยะเวลารอคอยนานในนครสวรรค์ ใน รพ. M2 บางแห่งมีความพร้อมแต่ยังไม่เปิดบริการ PD มาตรฐานศูนย์ PD ไม่ชัดเจน

17 วิเคราะห์การดำเนินงาน palliative care
เป้าหมายการดำเนินงาน ผลการดำเนินงาน ปัญหา อุปสรรค มีบริการ palliative care สำหรับผู้ป่วย ESRD ที่ปฏิเสธ RRT ในทุก รพ. ยังไม่มีรูปแบบที่ชัดเจน

18 วิเคราะห์การดำเนินงาน รับบริจาคและปลูกถ่ายอวัยวะ
เป้าหมายการดำเนินงาน ผลการดำเนินงาน ปัญหา อุปสรรค มี Kidney transplant (KT) center เขตละ 1 แห่ง

19 วิเคราะห์การดำเนินงาน รับบริจาคและปลูกถ่ายอวัยวะ
เป้าหมายการดำเนินงาน ผลการดำเนินงาน ปัญหา อุปสรรค รพ. A และ S ทั้งหมดเป็น donor center ภายในปี 2564 และ มี organ donor 1 :100 hospital death มี eye donor 5 : 100 hospital death

20 แผนการดำเนินงาน ปัญหา แผนเขต แผนกรมการแพทย์ แผนภาคีเครือข่าย
ขาดนักกำหนดอาหาร และ นักกายภาพบำบัด ใน รพช. เภสัชต้องการเรียนต่อด้าน CKD ระบบขั้นตอนการประเมิน CKD clinic จากส่วนกลางยังไม่ชัดเจน

21 แผนการดำเนินงาน ปัญหา แผนเขต แผนกรมการแพทย์ แผนภาคีเครือข่าย
ระบบรายงานผ่าน HDC ไม่สมบูรณ์ การจัดบริการ palliative care สำหรับผู้ป่วย ESRD ที่ปฏิเสธ RRT ยังไม่มีรูปแบบชัดเจน

22 แผนการดำเนินงาน ปัญหา แผนเขต แผนกรมการแพทย์ แผนภาคีเครือข่าย
ขาดศัลยแพทย์ผ่าตัดหลอดเลือด AVF/AVG และวางสาย PD ขาดแพทย์ที่ซ่อม vascular access การเริ่ม dialysis แบบ emergency ในผู้ป่วย ESRD เป้าหมายปี สูงเกินเป้ามาก

23 แผนการดำเนินงาน ปัญหา แผนเขต แผนกรมการแพทย์ แผนภาคีเครือข่าย
คุณภาพศูนย์ HD โดยเฉพาะศูนย์ outsource คุณภาพศูนย์ PD

24 แผนการดำเนินงาน ปัญหา แผนเขต แผนกรมการแพทย์ แผนภาคีเครือข่าย
จำนวนการบริจาคอวัยวะในเขตยังน้อยมาก


ดาวน์โหลด ppt ร้อยละของผู้ป่วย DM, HT ที่ได้รับการค้นหาและคัดกรองโรคไตเรื้อรัง เขตสุขภาพที่ 3 ปี 2557 – 2560(Q2)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google