แผนกการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายงานการวิจัย พฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตของนักศึกษา
Advertisements

การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการนำเข้าและการส่งออกของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาการตลาด โดยใช้แบบฝึกด้วยเทคนิคการเขียนแผนผังความคิด.
ผู้เสนอ นางประภัสสร แก้วประสาน สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
การใช้ชุดการสอนวิชาบัญชีเบื้องต้น 2 เรื่องการปรับปรุงบัญชี ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาพณิชยการ และการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
ชื่อผู้วิจัย นางดวงใจ สารภี อาจารย์กลุ่มวิชาบัญชี
การสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศของ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสม นางสาวพัชรี นาคทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
ศึกษาพฤติกรรมการเรียนรายวิชาพิมพ์ดีดอังกฤษ 1 ของนักเรียน
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
ปี 2 ห้อง 1 โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี ”
การใช้กระบวนการกลุ่ม เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน ในรายวิชา การบัญชีตั๋วเงินของ นักศึกษาระดับชั้น ปวช.2 แผนกวิชาการบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยี พณิชยการเชียงใหม่
สุนันทา โสรณสุทธิ์ ผู้วิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชย การ.
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ของผู้สำเร็จการศึกษา สาขาวิชาพณิชยการและ การจัดการธุรกิจท่องเที่ยว ระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ( ปวส.) ตามความต้องการของ สถานประกอบการ.
โดย นางสาวนิภาพร เถาคำแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค.)
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์วิชางานฝึกฝีมือ เรื่องงานร่างแบบด้วยมือโดยใช้ชุดฝึกทักษะ ของ นักเรียนระดับชั้น ปวช.1 แผนกช่างอุตสาหกรรม ปีการศึกษา.
ผลงานวิจัยเรื่อง “ ผลการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนการสอนรูปแบบซิปปา (CIPPA MODEL) เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาภาษาอังกฤษสำหรับสถานประกอบการสำหรับนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
นางสาวนิสรีน อัศวะ วิวัฒน์กุล. การปฏิบัติที่ซ้ำซ้อน มีขั้นตอนในการ ปฏิบัติงานหลายขั้นตอน ทำให้การจัดทำ เอกสารต่าง ๆ ล่าช้าและเป็นการเพิ่มภาระ งานโดยไม่จำเป็น.
การศึกษารูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบ follow me เพื่อพัฒนาความรับผิดชอบทางการเรียนวิชาบัญชีเบื้องต้น 2 ของนักศึกษาระดับ ปวช.1 สาขาพณิชยการ โดย อ.ชรินทร.
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)
แบบสอบถาม (Questionnaire)
การศึกษาความพึงพอใจ ของนักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีโป ลิเทคนิคลานา เชียงใหม่ ต่ออาจารย์ผู้สอนตามความคิดเห็น ของนักศึกษา.
ผู้วิจัย การพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ VDO ช่วยสอน
นางบัววิไล แก้วอู๋ ผู้วิจัย
นางสาวรัฏฐภรณ์ เหล็กไหล
ความคิดเห็นของหัวหน้าสถานประกอบการต่อการฝึกงานของนักศึกษา ระดับปวส
ชื่อเรื่อง ผลการใช้เทคนิคการเรียนแบบร่วมมือที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ของการเรียนวิชางานวัดละเอียดช่างยนต์ของนักศึกษาชั้น ปวช.2 สาขางานยานยนต์ โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
การบริหารโดยใช้รูปแบบบูรณาการด้านงานวิชาการและ การจัดการเรียนการสอน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสำหรับแก้ปัญหา การจัดทำวิจัย กรณีศึกษา : วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา.
ความเป็นมาของการจัดการ ความรู้ในกรมชลประทาน ตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์ และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ. ศ หมวดที่ 3 มาตราที่ 11 ระบุว่า.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจกลุ่ม 821
อาจารย์อัครชัย ปัญญาคม
วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ ความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา(Educational Media)
 จัดเตรียมแรงงานคุณภาพ ให้ตรงตามความต้อง ของภาคอุตสาหกรรม  จำเป็นต้องพัฒนาให้ทันกับเทคโนโลยีใหม่ ๆ สามารถปฏิบัติได้จริง  หลักสูตรที่มุ่งผลิตและพัฒนาแรงงานระดับฝีมือ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาการใช้โปรแกรมตาราง งานโดยวิธีการเรียนรู้แบบเพื่อน ช่วยเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้น ปีที่
ความพึงพอใจต่อการบริหาร จัดการโครงการเรียนรู้จาก ประสบการณ์จริงด้วยวิธีการ เรียนรู้แบบศึกษาดูงาน บริหารธุรกิจสาขาการจัดการ / การตลาด ภาคเรียนที่ 2/2556.
ความพึงพอใจที่มีต่อ ประสิทธิภาพ การ ปฏิบัติงานธุรการ นางพนิดา ชวนประเสริฐ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
รูปแบบการเขียนบทที่ 3.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น โดยใช้รูปแบบการ
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ชื่อผู้วิจัย นางสาวศุวรีย์ จำปามูล
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
      วิจัย เรื่อง การประเมินผลการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน ของสำนักงานประกันคุณภาพและงานวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการอยุธยา ปีการศึกษา 2556.
ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาความสามารถด้านการพูดนำเสนอโปรแกรมท่องเที่ยวโดยใช้การสอนแบบบทบาทสมมุติ วิชาการตลาดเพื่อการท่องเที่ยวของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรชั้นปีที่
ผลงานทางวิชาการ ความหมาย ลักษณะ ประเภท
การพัฒนาบุคลิกภาพด้านการแสดงออกของผู้เรียน
วิทยาลัยเทคโนโลยีพาณิชยการลานนา จังหวัดเชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการ พลาญชัยร้อยเอ็ด
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
นางสาวสุภาวดี นุกุลเสาวลักษณ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ 2559
การนำเสนอผลงานการวิจัย
กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยนี้สำเร็จได้ด้วยความอนุเคราะห์ของบุคคลหลายท่านซึ่งไม่สามารถกล่าวไว้ในที่นี้ได้ทั้งหมดทุกท่าน ซึ่งท่านแรก ผู้จัดทำต้องขอขอบคุณ.
การใช้ชุดฝึกปฏิบัติ เพื่อพัฒนาการอ่านออกเสียงเสียงท้าย - ts , st
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ 8
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
ว่าที่ร้อยตรีศิริพงษ์ สายหยุด ผู้วิจัย
Miniresearch งานผู้ป่วยนอก.
นายเกียรติศักดิ์ คนธสิงห์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพายัพและบริหารธุรกิจ
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
ผู้วิจัย นายกัมพล ติปิน วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการพัฒนาการจัดการเรียนรู้
วิธีการแก้ปัญหาการอธิบายกลไกลการทำงานเกียร์ขับเคลื่อนล้อหลัง 5 สปีด
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา การบัญชี อุตสาหกรรมและระบบใบสำคัญ ของนักศึกษาระดับ ปวช. 3 สาขาการบัญชี ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
โดย นางสาววิมลรัตน์ ยอดคำแปง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แผนกการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ความเข้าใจในด้านการท่องเที่ยวในมิติเศรษฐกิจพอเพียงของนักศึกษาระดับชั้น ปวช.2/4 แผนกการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ภาสกร มีชัย สาขาวิชาการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่

ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา 1.ผลกระทบจากโลกาภิวัตน์ทําให้ประเทศที่อ่อนแอกว่าหรือประเทศที่ไม่ได้เตรียมตัว ประเทศที่ไม่ได้สร้างภูมิคุ้มกันว็ก็จะถูกกระทบมากถ้าประเทศไหนเข้มแข็งก็ถูกกระทุบน้อย ทําให้คนไทย หลงคิดว่าการพัฒนาประเทศในช่วงระยะเวลาที่ผ่านมาเป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว 2.วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ เพื่อให้การดำเนินการสอนที่มีประสิทธิ์ภาพจึงได้เล็งเห็นในด้านการการน้อมนำเอาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในชีวิตประจำวันได้

วัตถุประสงค์การวิจัย เพื่อศึกษาความเข้าใจในด้านการท่องเที่ยวในมิติเศรษฐกิจพอเพียงของนักศึกษา ปวช.2/4 แผนกการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่

กรอบแนวคิด - เพศ - อายุ - ระดับการศึกษา การใช้พื้นที่อยู่ในการประยุกต์ในการ ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียง - ระดับการใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในชีวิตประจำวัน ความเข้าใจในด้านการท่องเที่ยว ในมิติเศรษฐกิจพอเพียงของ นักศึกษา

ประชากรของงานวิจัย ประชากร ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือนักศึกษาที่เรียนในรายวิชา การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ระดับชั้น ปวช.2/4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557 จำนวน 20 คน

กลุ่มตัวอย่างของงานวิจัย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยได้แก่นักศึกษาที่เรียนในรายวิชา การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ระดับชั้น ปวช.2/4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557 จำนวน 20 คน ได้มาจากการเลือกใช้เป็นการสุ่มตัวอย่างแบบโควตา (Quota Sampling)

เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล 1. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม แบ่งออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่ ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐานของกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา การใช้พื้นที่อยู่ในการประยุกต์ในการใช้เศรษฐกิจพอเพียง และระดับการใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในชีวิตประจำวัน ส่วนที่ 2 ความเข้าใจในด้านการท่องเที่ยวในมิติเศรษฐกิจพอเพียงของนักศึกษา ใช้คำถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ ได้แก่ ระดับความเข้าใจอยู่ในระดับมากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย และน้อยที่สุด ส่วนข้อเสนอแนะใช้แบบเติมคำ

การสร้างเครื่องมือและการหาประสิทธิภาพของเครื่องมือ 1. ศึกษาข้อมูลเบื้องต้น โดยศึกษาจากทฤษฎี เอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อเป็นแนวทางในการสร้างเครื่องมือ 2. สร้างเครื่องมือโดยการศึกษาหลักการสร้างแบบสอบถามและแบบตรวจรายการโดยกำหนดประเด็นและขอบเขตคาถามด้วยการจัดหมวดหมู่ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการวิจัย

3. ทำการศึกษาวิจัยเบื้องต้น (Try out) โดยแจกแบบสอบถามกับกลุ่มตัวอย่าง นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 ที่เคยเรียนรายวิชาการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ เมื่อปีการศึกษา 2556 จำนวน 30 ชุด เพื่อหาความเชื่อมั่น/ความเที่ยง (Reliability) ของแบบสอบถาม จากนั้นเก็บแบบสอบถามวิจัยดังกล่าวมาคำนวณหาค่าความเชื่อมั่น/ความเที่ยง โดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์อัลฟาของครอนบาค (Cronbach’s alpha coefficient) ได้ค่า Cronbach’s alpha coefficient เท่ากับ 0.87 4. ปรับปรุงเครื่องมือ แล้วนำไปใช้เก็บรวบรวมข้อมูลต่อไป

การรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยได้นําเครื่องมือ คือ แบบสอบถามไปเก็บรวบรวมข้อมูล โดยวางแผนและปฏิบัติ ดังต่อไปนี้ 1. นําแบบสอบถาม ที่สมบูรณ์ซึ่งผ่านความเห็นชอบจากผู้เชี่ยวชาญแล้ว ไปใช้กับ กลุ่มตัวอย่างคือ นักศึกษาคณะเศรษฐศาสตร์ระดับปริญญาตรีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2. ดําเนินการแจกแบบสอบถามให้กับนักศึกษากลุ่มตัวอย่าง

3. เก็บรวบรวมแบบสอบถาม แล้วตรวจสอบความถูกต้องและความสมบูรณ์ของ แบบสอบถาม 4. นําข้อมูลจากแบบสอบถามมาประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูลด้วยและสรุปผลเป็น ค่าเฉลี่ยและอัตราร้อยละและใช้การพรรณนาเพื่ออธิบายข้อมูลที่ได้จากการสํารวจ

สถิติที่ใช้ในการวิจัย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์สําหรับการวิจัยในครั้งนี้จะใช้สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) คือ ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ใช้สถิติร้อยละ (Percentage) ตอนที่ 2 แบบสอบถามความเข้าใจในด้านการท่องเที่ยวในมิติเศรษฐกิจพอเพียงของนักศึกษา วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ค่าเฉลี่ย ตอนที่ 3 เป็นแบบสอบถามปลายปิดและปลายเปิดเกี่ยวกับทัศนคติต่อหลักเศรษฐกิจพอเพียง และการนํามาใช้ในชีวิตและข้อเสนอแนะใช้สถิติร้อยละ (Percentage)  

ลักษณะทั่วไปของผู้ตอบแบบประเมิน ผลการวิจัย ลักษณะทั่วไปของผู้ตอบแบบประเมิน จำนวน ร้อยละ 1. เพศ ชาย หญิง 3 17 15 85 รวม 20 100 2. อายุ 16 – 18 ปี 19 – 22 ปี 19 1 95 5 3. ระดับการศึกษา ระดับชั้นประกาศนียบัตร (ปวช.)

ลักษณะทั่วไปของผู้ตอบแบบประเมิน จำนวน ร้อยละ 4. นักศึกษาสามารถใช้พื้นที่ของตนเองในการบูรณาการให้อ้างอิงกับเศรษฐกิจพอเพียง ได้ ไม่ได้ 18 2 90 10 รวม 20 100 5. ระดับการใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในชีวิตประจำวันอยู่ในระดับใด ได้ไม่มีปัญหา ขอคิดดูก่อน -

หัวข้อการประเมิน ค่าเฉลี่ยรวม ความหมาย ค่าเฉลี่ยรวมของการปลูกฝังแนวคิดเกษตรทฤษฎีใหม่กับการท่องเที่ยวในมิติเศรษฐกิจพอเพียงให้แก่นักศึกษา ในแผนกการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว ปีการศึกษา 2557 หัวข้อการประเมิน ค่าเฉลี่ยรวม ความหมาย 1.การน้อมนำเอาหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาดำเนินชีวิต 4.21 มากที่สุด 2.นักศึกษามีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์กับคำว่า “พอเพียง” 4.17 มาก 3.การท่องเที่ยวในมิติเศรษฐกิจพอเพียง 4.10 รวม 4.16

ข้อเสนอแนะที่ได้จากการวิจัย 1. เน้นวางแผนการท่องเที่ยวให้เกิดประโยชน์แก่ชุมชนท้องถิ่นในมากที่สุด และวางแผนการป้องกันการพังทลายของชุมชนท้องถิ่นอันเกิดจาการพัฒนาการท่องเที่ยว 2.ส่งเสริมการศึกษาให้ทั้งนักศึกษาเพื่อให้นักศึกษาได้มีแนวคิดในการพัฒนาพื้นที่ของตนเองให้เกิดประโยชน์ในการท่องเที่ยวและเน้นการดูแลตนเองได้