งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

รูปแบบการเขียนบทที่ 3.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "รูปแบบการเขียนบทที่ 3."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 รูปแบบการเขียนบทที่ 3

2 ส่วนประกอบของบทที่ 3 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากร ประชากรในการวิจัยท่องเที่ยวหมายถึง กลุ่มที่ผู้วิจัยใช้ในการศึกษาวิจัย 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 2. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 3. การเก็บรวบรวมข้อมูล 4.การวิเคราะห์ข้อมูล กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มที่เลือกตัวอย่างขึ้นมาจากประชากร เพื่อใช้ เป็นตัวแทนของการศึกษาวิจัย เนื่องจาก ในการ วิจัยบางเรื่องผู้วิจัยไม่สามารถทำการวิจัยจาก ประชากรทั้งหมดได้ เพราะว่ามีจำนวนมากและ ยากต่อการรวบรวมข้อมูล

3 ตัวอย่าง ประชากร กลุ่มตัวอย่าง
นักท่องเที่ยวที่มาท่องเที่ยวในชุมชนตลาดน้ำวัดสะพานจำนวน 33,600 คน กลุ่มตัวอย่าง การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ในการศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาค่าเฉลี่ยประชากร จากประชากรนักท่องเที่ยวจำนวน 33,600 คน และเนื่องจากทราบจำนวนประชากร (Definite Population) ดังนั้นผู้วิจัยจึงได้ใช้ตารางสําเร็จรูปของ krejcie and morgan ได้กลุ่มตัวอย่าง 380 คน

4 2. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
ส่วนที่ 1 การสร้างเครื่องมือในการวิจัย – เป็นการอธิบายว่าในการวิจัยในครั้งนี้เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีใด แบบสอบถามมีรูปแบบใด แบบสอบถามมีกี่ตอน ส่วนที่ 2 การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ –เป็นการนำแบบสอบถามที่สร้างขึ้นเองสำหรับการศึกษาวิจัย ไปทำการทดสอบหาค่าความเที่ยงตรง (Validity) และความเชื่อมั่น (Reliability)

5 4.การวิเคราะห์ข้อมูล 3.การเก็บรวบรวมข้อมูล
เป็นการอธิบายว่าการเก็บรวบรวมข้อมูลอย่างไร เก็บจำนวนเท่าข้อมูลกับใคร เมื่อไหร่และที่ไหน 4.การวิเคราะห์ข้อมูล เป็นการอธิบายว่าเราใช้เกณฑ์อะไรในการวิเคราะห์ข้อมูล เช่น แบบสอบถามเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) โดยมีคำตอบและกำหนดเกณฑ์การให้คะแนนแบ่งเป็น 5 ระดับ คือ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด จึงกำหนดเกณฑ์การให้คะแนนในการตอบแบบสอบถาม ดังนี้ 5 คะแนน หมายถึง ให้ความสำคัญมากที่สุด 4 คะแนน หมายถึง ให้ความสำคัญมาก 3 คะแนน หมายถึง ให้ความสำคัญมากปานกลาง 2 คะแนน หมายถึง ให้ความสำคัญน้อย 1 คะแนน หมายถึง ให้ความสำคัญน้อยที่สุด

6 รวมถึงเป็นการบอกถึงสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ (ใช้สถิติอะไรในการคำนวณแบบสอบถาม)
1. สถิติพรรณนา (Descriptive Statistics)         เป็นสถิติที่ใช้อธิบายคุณลักษณะของสิ่งที่ต้องการศึกษากลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง ไม่สามารถอ้างอิงไปยังกลุ่มอื่นๆ ได้  สถิติที่อยู่ในประเภทนี้  เช่น  ค่าเฉลี่ย  ค่ามัธยฐาน  ค่าฐานนิยม  ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน  ค่าพิสัย ฯลฯ สถิติแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ 2. สถิติอ้างอิง (Inferential statistics) เป็นสถิติที่ใช้อธิบายคุณลักษณะของสิ่งที่ต้องการศึกษากลุ่มใดกลุ่มหนึ่งหรือหลายกลุ่ม  แล้วสามารถอ้างอิงไปยังกลุ่มประชากรได้  โดยกลุ่มที่นำมาศึกษาจะต้องเป็นตัวแทนที่ดีของประชากร  ตัวแทนที่ดีของประชากรได้มาโดยวิธีการสุ่มตัวอย่าง  และตัวแทนที่ดีของประชากรเรียกว่า  กลุ่มตัวอย่างสถิติที่อยู่ในประเภทนี้  เช่น  t-test,  F-test ,Z-test,  ANOVA


ดาวน์โหลด ppt รูปแบบการเขียนบทที่ 3.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google