สำนักสนับสนุนคุณภาพและมาตรฐานหน่วย บริการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
1. แนวทางการรับคำสั่งการใช้ รถ การประกันระยะเวลาการ รับส่งผู้ป่วย 4. ความรู้ความสามารถของ พขร. ในเรื่องการช่วยฟื้นคืนชีพ การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย กฎจราจร.
Advertisements

กองแบบแผน กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
การอบรมทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว(SRRT) เครือข่ายอำเภอเมืองนครปฐม วันที่ 27 มิถุนายน 2557 ณ ห้องประชุมอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ดรุณี โพธิ์ศรี
สภาพปัญหา / สาเหตุของปัญหา กระบวนการวางแผน/แนวทางการพัฒนา
นักทรัพยากรบุคคล ชำนาญการพิเศษ
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
บริการฉับไว ไร้ความแออัด โรงพยาบาลแพร่.  430 เตียง  บุคลากร 1,126 คน  ประชากรจังหวัดแพร่ ~ 477,796 คน  ประชากรอำเภอเมือง ~ 128,073 คน  จำนวนผู้ป่วยนอก.
การพัฒนาหลักเกณฑ์การจ่าย Pay per performance : P4P
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ชี้แจงเกณฑ์การประเมินผล ตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิภาพ 1.
กลุ่มบริหารงานทั่วไป
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
และความปลอดภัยในโรงพยาบาล
การพัฒนาโปรแกรมระบบ รายงาน หน่วยงานเวชสารสนเทศ หน่วยงานเวชสารสนเทศ กลุ่มพัฒนาระบบบริการ สุขภาพโรงพยาบาลสุโขทัย.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
โรงพยาบาลนามน ขอ ต้อนรับ ด้วยความยินดียิ่ง
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
ทิศทางการนำระบบบริหาร จัดการคลังข้อสอบ และการทดสอบมาตรฐานฝีมือ แรงงาน ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์สู่หน่วย ปฏิบัติ โดย วรรณี โกมลกวิน ผู้อำนวยการกลุ่มงานกำหนด.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
การบริหารจัดการงบค่าเสื่อม ปี 2561
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
SP สาขาอุบัติเหตุและฉุกเฉิน
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
จำนวนเตียงจำนวนผู้รับบริการ
COMPETENCY DICTIONARY
การบริหารการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2562
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
งาน Palliative care.
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
ยินดีต้อนรับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน (พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์) และคณะ ในโอกาสตรวจเยี่ยมจังหวัดตาก วันที่ กรกฎาคม 2558.
กรมตรวจบัญชีสหกรณ์.
ตอนที่ 1ภาพรวมของการบริหารองค์กร (1-5 กำลังคน)
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
ณ ห้องประชุมกองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
ในช่วงเทศกาลสงกรานต์ พ.ศ.2560
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ความรู้เบื้องต้นระบบระบายอากาศ
กำหนดการ Work shop -ชี้แจงวัตถุประสงค์ ร่วมเรียนรู้ ร่วมลด CAP ลดซ้ำซ้อน และเสริมพลัง -รับฟังการนำเสนอผลการประเมินตนเองและทำแผนปรับปรุงตนเองและสรุปปัญหาที่ต้อง.
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
SMS News Distribute Service
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
กองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพ จังหวัดน่าน
ทางด้านเครื่องมือแพทย์
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
การพัฒนาการทำแผล หอผู้ป่วยพิเศษร่มเย็น 4
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
จุดเน้นในการพัฒนา/แผนพัฒนา ความเสี่ยง/ความท้าทาย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สำนักสนับสนุนคุณภาพและมาตรฐานหน่วย บริการ เกณฑ์การตรวจประเมินหน่วยบริการที่รับการส่งต่อ ตามประกาศเกณฑ์ขึ้นทะเบียนฯ ปี ๒๕๕๘ สำนักสนับสนุนคุณภาพและมาตรฐานหน่วย บริการ

หน่วยบริการประจำ ขึ้นทะเบียนหน่วยบริการ หน่วยบริการที่รับการส่งต่อ หน่วยบริการปฐมภูมิ เบ็ด เสร็จ ทั่วไป หน่วยบริการร่วมให้บริการ หน่วยบริการที่รับการส่งต่อ เฉพาะด้าน ผู้ป่วยนอก ผู้ป่วยใน

ร้อยละผลขึ้นทะเบียนหน่วยบริการที่รับการส่งต่อ

เกณฑ์ที่ได้คะแนน 0 (ไม่ผ่าน) 5 อันดับแรก ปี 2558 เกณฑ์ที่ได้คะแนน 0 (ไม่ผ่าน) 5 อันดับแรก ปี 2558 OR - มีศัลยแพทย์ที่มีวุฒิบัตรหรือหนังสืออนุมัติแสดง ความรู้ความชำนาญจากแพทยสภา ปฏิบัติงานเต็มเวลา อย่างน้อย 1 คน OR - สำหรับการผ่าตัดทั่วไป มีวิสัญญีแพทย์ 1 ต่อ 2 ห้อง ผ่าตัด และวิสัญญีพยาบาล 2 คนต่อ 1 ห้องผ่าตัดขณะ ปฏิบัติงาน OR - อุปกรณ์ เครื่องมือ OR - มีห้องหรือเขตพักฟื้นเป็นสัดส่วนในเขตกึ่งปลอด เชื้อของอาคารผ่าตัด OR - มีระบบสำรองไฟฟ้าฉุกเฉิน

เกณฑ์ที่ได้คะแนน 1 (ผ่านแบบมีเงื่อนไข) 5 อันดับแรก ปี 2558 Phar - จัดบุคลากร ขึ้นปฏิบัติงานประจำ ในลักษณะของเวรผลัดได้ตลอด 24 ชั่วโมง X-rays - จัดบุคลากร ขึ้นปฏิบัติงานประจำ ในลักษณะของเวรผลัดได้ตลอด 24 ชั่วโมง Lab - จัดบุคลากร ขึ้นปฏิบัติงาน ให้บริการทางเทคนิคการแพทย์ ในลักษณะของเวรผลัดได้ตลอด 24 ชั่วโมง X-rays - ชุดอุปกรณ์ยา และเวชภัณฑ์ในการช่วยฟื้นคืนชีพ อย่างน้อยหนึ่งชุด IPD - จำนวนเตียงในหอผู้ป่วยรวมไม่เกิน 30 เตียง ต่อหอผู้ป่วย และระยะห่างระหว่างเตียงไม่น้อยกว่า 1 เมตร ระยะห่างระหว่างปลายเตียงไม่น้อยกว่า 2.5 เมตร สามารถนำเปลเข็นเข้าเทียบเตียงผู้ป่วยได้โดยสะดวก

เกณฑ์การตรวจหน่วยบริการรับส่งต่อ ปี2555 ปี2558 หมวด 1 ศักยภาพในการรับการส่งต่อ 4 หมวด 1 ศักยภาพการให้บริการ 13 หมวด 2 การจัดการทรัพยากรบุคคล 10 หมวด 2 การจัดระบบบริหารจัดการ หมวด 3 การบริหารจัดการในองค์กร 8 หมวด 3 การกำกับและการพัฒนาคุณภาพ 5 หมวด 4 การจัดระบบการให้บริการ 17 หมวด 4 อาคาร สถานที่ สิ่งแวดล้อม และความปลอดภัย หมวด 5 การกำกับและพัฒนาคุณภาพ หมวด 6 อาคารสถานที สิ่งแวดล้อม และความปลอดภัย 6 55 ข้อ 36 ข้อ แผนก 1 บริการผู้ป่วยนอก 9 แผนก 2 บริการอุบัติเหตุและฉุกเฉิน 15 14 แผนก 3 บริการผู้ป่วยใน 11 แผนก 4 บริการห้องคลอด แผนก 5 บริการห้องผ่าตัด แผนก 6 บริการทันตกรรม แผนก 7 บริการเภสัชกรรม 12 แผนก 8 บริการเทคนิคการแพทย์ แผนก 9 บริการรังสีวินิจฉัย แผนก 10 บริการหอผู้ป่วยหนัก /เวชบำบัดวิกฤต 7 - แผนก 11 กายภาพบำบัด 96 101

สิ่งที่เปลี่ยนแปลง

เกณฑ์หน่วยบริการที่รับการส่งต่อ (ประกาศเกณฑ์ฯข้อ 12-18) 12 ต้องมีศักยภาพในการรองรับการให้บริการสาธารณสุข 13 ต้องสามารถให้บริการ ตามมาตรฐานการให้บริการสาธารณสุข ได้ตลอด 24 ชม. 14 (1) การจัดอัตรากำลัง 14 (2) การพัฒนาบุคลากรทางการแพทย์ให้มีศักยภาพเพียงพอในการให้บริการ หน่วยบริการที่รับการส่งต่อ หมวด 1 ศักยภาพเพื่อการเข้าถึง หมวด 2 การจัดระบบบริการจัดการ หมวด 3 กำกับและการพัฒนาคุณภาพ หมวด 4 อาคาร สถานที่ สิ่งแวดล้อม และความปลอดภัย 17 สถานบริการที่ขอขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยบริการที่รับการส่งต่อ ต้องมี อาคาร สถานที่ สิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัย 15.2 มีระบบสารสนเทศที่สามารถเชื่อมต่อ ส่งข้อมูลได้อย่างถูกต้อง และทันเวลา 16.1 มีระบบคุ้มครองสิทธิอย่างครอบคลุม 16.4 มีระบบเวชระเบียนที่ได้มาตรฐาน 15.1 มีระบบประกันคุณภาพทั้งองค์กร 16.2 มีจัดระบบบริการเป็นไปตามมาตรฐาน 16.3 มีระบบควบคุมและป้องกันการติดเชื้อ 16/09/61 ชี้แจงเกณฑ์ขึ้นทะเบียน หน่วยบริการที่รับการส่งต่อ

เกณฑ์หน่วยบริการที่รับการส่งต่อ (ประกาศเกณฑ์ฯข้อ 12-18) แผนกที่ 1 OPD แผนกที่ 2 ER แผนกที่ 3 IPD แผนกที่ 4 LR แผนกที่ 5 OR แผนกที่ 6 Dent แผนกที่ 7 Phar แผนกที่ 8 LAB แผนกที่ 9 RT แผนกที่ 10 ICU แผนกที่ 11 PT 16/09/61 ชี้แจงเกณฑ์ขึ้นทะเบียน หน่วยบริการที่รับการส่งต่อ

แก้ไข หลักเกณฑ์การพิจารณาจากเดิม 100 เตียง เป็น 90 เตียง โดยอ้างอิงตามกฎ กระทรวงฯ ปี 2558 ที่กำหนดให้รพ.ตั้งแต่ 90 เตียงขึ้นไปเป็นรพ.ขนาดใหญ่ ต่ำกว่าหรือเท่ากับ 90 เตียง ไม่ประเมิน แผนก 10 หอผู้ป่วยหนัก ต่ำกว่าหรือเท่ากับ 30 เตียง ไม่ประเมิน แผนก 5 ห้องผ่าตัด

การกำหนดค่าคะแนนในแต่ละข้อเกณฑ์ 2 = ผ่าน (เป็นไปตามเกณฑ์) 1 = ผ่านแบบมีเงื่อนไข(อนุโลมให้ผ่าน) 0 = ไม่ผ่าน 8 = ไม่ได้จัดบริการ

แนวทางการสรุปผลการตรวจประเมินหน่วยบริการที่รับการส่งต่อ ผลการประเมิน ผลการพิจารณา กลุ่มที่ 1 มีคะแนน เป็น 2 ทุกข้อ หน่วยบริการมีคุณลักษณะเป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนด กลุ่มที่ 2 มีคะแนน 2 อยู่ระหว่าง 75-99.99% และมีข้อคะแนน 0 </= 10% หน่วยบริการต้องจัดทำแผนและดำเนินการพัฒนา กลุ่มที่ 3 มีคะแนน 2 อยู่ระหว่าง 75-99.99% และมีข้อคะแนน 0 > 10% หน่วยบริการต้องจัดทำแผนและดำเนินการพัฒนาปรับปรุงแก้ไข ภายในเวลาที่กำหนด กลุ่มที่ 4 มีคะแนน 0 ในเกณฑ์ที่กำหนด หรือ มีข้อที่มีคะแนน 2 < 50% หน่วยบริการมีคุณลักษณะต่ำกว่าเกณฑ์ที่กำหนดเป็นส่วนใหญ่ ซึ่งอาจส่งผลต่อคุณภาพบริการ

กำหนดข้อเกณฑ์ที่เป็น 0 ไม่ได้ หน่วยบริการที่รับการส่งต่อ เกณฑ์หน่วยบริการที่รับการส่งต่อ เรื่อง ER ค - 1 ต้องมีแพทย์ปฏิบัติงานประจำที่แผนกฉุกเฉินอย่างน้อย 1 คน ตลอด 24 ชั่วโมง ER อ - 2 มีอุปกรณ์ช่วยชีวิตฉุกเฉิน พร้อมใช้งาน ประจำไว้ในหน่วยฉุกเฉิน IPD อ - 2 มีรถเข็นพร้อมอุปกรณ์ฉุกเฉิน (Emergency Cart) ประจำหอผู้ป่วย

หมวดที่ 1 ศักยภาพการให้บริการ ม.1-1 ระบบการประสานส่งต่อที่ครอบคลุมทั้งเครือข่าย>>ระบบ คน data M&E ม.1-2 การจัดบริการแยกเป็นแผนกบริการ >>17 แผนก** OR ICU ม.1-3 ระบบนัดหมาย ม.1-4 ระบบรองรับการให้บริการกรณีอุบัติเหตุหรือกรณีเจ็บป่วยฉุกเฉิน >>แผน อบรม อุปกรณ์ ซ้อมแผน ประเมินและปรับปรุงแผน ม.1-5 ระบบการรับผู้ป่วยเพื่อการดูแลต่อเนื่อง>> มอบหมาย flowchart Guidline checklist ม.1-6 ระบบส่งผู้ป่วยกลับเพื่อการดูแลต่อเนื่อง ม.1-7 ระบบส่งผู้ป่วยกลับเพื่อการรักษาต่อเนื่องกรณีเกินศักยภาพ

หมวดที่ 1 ศักยภาพการให้บริการ ม.1-8 จัดบุคลากรขึ้นปฏิบัติงานประจำ ทุกแผนกที่จัด ให้บริการ เวรผลัดครบ 24 ชม. ม.1-9 มีแพทย์ประจำ ในสัดส่วน 1: 15,000 คน (คิดแยกจาก อัตรากำลังของหน่วยบริการประเภทอื่นๆ ) ม.1-10 มีพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานประจำ ม.1-11 หน่วยบริการ 90 เตียงขึ้นไป มีแพทย์ครบ 4 สาขาหลัก ม.1-12 การพัฒนาศักยภาพบุคลกร ม.1-13 ระบบงานเภสัชกรรม 1-10 สัดส่วนของ RN : PT ปรับไปไว้ในแผนก

หมวดที่ 2 การจัดระบบบริหารจัดการ 2.1 ระบบคุ้มครองสิทธิ (เหมือนเดิม) ม 2.1-1 มีแนวทางปฏิบัติการคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย อย่างครอบคลุมและทั่วถึงทั้งองค์กร ม 2.1-2 มีแนวทางปฏิบัติผู้ใช้บริการทราบชื่อผู้ ให้บริการดูแลรักษาในทุกหน่วยงาน ม 2.1-3 มีแนวทางปฏิบัติ ผู้ใช้บริการ ทราบ ข้อมูลการเจ็บป่วย แนวทาง/ผลการรักษา และ ค่าใช้จ่าย ม 2.1-4 มีช่องทางให้ผู้ใช้บริการแสดงความ คิดเห็น

หมวดที่ 2 การจัดระบบบริหารจัดการ 2.2 ระบบการสื่อสาร (เหมือนเดิม) ม 2.2-1 มีอุปกรณ์และวิธีปฏิบัติในการสื่อสาร ประชาสัมพันธ์ ข้อมูลข่าวสาร ภายในหน่วย บริการ ม 2.1-2 มีอุปกรณ์และวิธีปฏิบัติในการสื่อสาร ประชาสัมพันธ์ ข้อมูลข่าวสาร ภายในเครือข่าย หน่วยบริการ

หมวดที่ 2 การจัดระบบบริหารจัดการ 2.3 ระบบเวชระเบียน (เหมือนเดิม) ม 2.3-1 มีสถานที่/อุปกรณ์เก็บที่เหมาะสม / ระบบป้องกันข้อมูลสูญหาย/เก็บข้อมูลใน รูปแบบ อิเล็กทรอนิกส์ ม 2.3-2 มีบุคลการด้านเวชสถิติ อย่างน้อย 1 คน ม 2.3-3 มีบันทึกเวชระเบียนครบถ้วน ม 2.1-4 มีระบบบริการเวชระเบียนตลอด 24 ชั่วโมง ม 2.1-5 มีการจัดทำรายงาน และนำมาพัฒนา คุณภาพ

หมวดที่ 2 การจัดระบบบริหารจัดการ ม 2.4 มีผู้รับผิดชอบงานประกันสุขภาพ ม 2.5 มีระบบข้อมูลสารสนเทศที่สามารถ จัดเก็บข้อมูล และส่งให้ สปสช.ตามที่ กำหนด ...CPP 2.5 ปรับโปรแกรม ให้มีการคีย์ CPP

หมวดที่ 3 การกำกับและพัฒนาคุณภาพ ม 3.1 มีการพัฒนาคุณภาพด้วยระบบ บริหารคุณภาพ ม 3.2 มีคู่มือ/แนวทางในการดูแลโรคที่ พบบ่อยหรือโรคที่เป็นปัญหาของพื้นที่ ม 3.3 มีคณะทำงานบริหารความเสี่ยง ม 3.4 มีการค้นหาและป้องกันความเสี่ยง ทางด้านคลินิก/ ด้านทั่วไป ม 3.5 มีระบบการควบคุมและป้องกัน การติดเชื้อ

หมวดที่ 4 อาคาร สถานที่ สิ่งแวดล้อม และความปลอดภัย หมวดที่ 4 อาคาร สถานที่ สิ่งแวดล้อม และความปลอดภัย ม 4.1 มีการจัดสถานที่อำนวยความสะดวก สะอาดและปลอดภัย ม 4.2 มีการจัดการความสะอาดของสถานที่ และการควบคุมปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม ที่มีผล ต่อสุขภาพ ม 4.3 การป้องกันและความปลอดภัยด้าน อัคคี และภัยธรรมชาติ ม 4.4 ระบบสาธารณูปโภคและระบบสำรอง เพื่อรองรับสถานการณ์ฉุกเฉิน ม 4.5 มีระบบการกำจัดของเสียที่เหมาะสม

แผนก 1 บริการผู้ป่วยนอก แผนก 1 บริการผู้ป่วยนอก สถานที่ ตำแหน่ง การจัดแบ่งพื้นที่ พื้นที่ห้องตรวจเพียงพอ ที่พักคอยตรวจ บุคลากร แพทย์ประจำ ทุกห้องตรวจ แพทย์เฉพาะทาง เฉพาะที่เปิดให้บริการ RN1:100 RN : non RN60:40 อุปกรณ์ ชุดตรวจโรค ประจำแต่ละห้องตรวจ รถเข็นพร้อมอุปกรณ์ฉุกเฉิน

แผนก 1 บริการผู้ป่วยนอก แผนก 1 บริการผู้ป่วยนอก OPD ส3 พื้นที่ห้องตรวจ (ตัดขนาดห้อง 2.5*3 เมตร) แนวทางการพิจารณา พท.ในแต่ละห้องตรวจเพียงพอ จัดวางอุปกรณ์ต่างๆ และมี 1 ห้อง เอาเปลนอนเข้าได้ OPD ค1 แพทย์ประจำห้องตรวจที่เปิดบริการ (เดิม ค่าเฉลี่ย 12 คน/ชม. ในชม.เร่งด่วน) แนวทางการพิจารณา 1. มีแพทย์ประจำห้องตรวจ 2. มีแนวทางการบริหารจัดการให้ผู้รับบริการได้รับการตรวจในเวลาที่เหมาะสม 2 = เป็นไปตามเกณฑ์ 1 = มีแพทย์ แต่ไม่มีแนวทาง 0 = ไม่มีแพทย์ 2 = เป็นไปตามเกณฑ์ 1 = ต่ำกว่าเกณฑ์แต่พออนุโลมได้ 0 = ต่ำกว่าเกณฑ์แต่พออนุโลมไม่ได้

แผนก 2 บริการอุบัติเหตุและฉุกเฉิน แผนก 2 บริการอุบัติเหตุและฉุกเฉิน สถานที่ จุดที่ตั้ง ทางรถวิ่งรับส่งผู้ป่วย จำนวนเตียง อย่างน้อย 3 เตียง พื้นที่เพียงพอในการรับอุบัติเหตุหมู่ บุคลากร แพทย์ประจำ พยาบาลประจำ HRD อัตรากำลังสำรองในการรับอุบัติเหตุหมู่ อุปกรณ์ อุปกรณ์ช่วยชีวิตฉุกเฉินพร้อมใช้งาน ชุดตรวจโรคทั่วไป เครื่องมือทางการแพทย์/เครื่องมือสำหรับเวชหัตถการฉุกเฉินพร้อมใช้งาน รถ พยาบาล

แผนก 2 บริการอุบัติเหตุและฉุกเฉิน แผนก 2 บริการอุบัติเหตุและฉุกเฉิน ER ค2 RN ประจำอย่างน้อย 1 คน และเป็นตามมาตรฐานวิชาชีพ แนวทางการพิจารณา เวรผลัด ตลอด 24 ชม. RN: Non RN 60:40 RN: ผู้ป่วย 1:10 มีพยาบาลเฉพาะทางการพยาบาลผู้ป่วยอุบัติเหตุฉุกเฉิน อย่างน้อย 1 คน 2 = เป็นไปตามเกณฑ์ 1 = 1-3 ผ่าน แต่ไม่มีข้อที่ 4 0 = ไม่มีทีมพยาบาลครบ 24 ชม.

แผนก 3 บริการผู้ป่วยใน แผนก 3 บริการผู้ป่วยใน แก้ไข หลักเกณฑ์การพิจารณา รพ.ที่มีขนาดต่ำกว่าหรือเท่ากับ 90 เตียง จากเดิม 100 เตียง ให้สุ่มบางหอผู้ป่วย รพ.มากกว่า 90 เตียง ให้สุ่มตรวจ 4 แผนกหลัก แผนกละ 1 หอ และใช้คะแนนจากหอผู้ป่วยที่ต่ำ ที่สุดเป็นหลัก

แผนก 3 บริการผู้ป่วยใน สถานที่ บุคลากร อุปกรณ์ จำนวนเตียง จัดพื้นที่ใช้สอยภายในหอผู้ป่วย ระยะห่าง บุคลากร ผู้ป่วยมีแพทย์เจ้าของดูแล 90 เตียงขึ้นไป มีแพทย์ 4 สาขาหลัก ปฏิบัติงาน 24 ชม. น้อยกว่า หรือเท่ากับ 90เตียง มีแพทย์ IPD อย่างน้อย 1 คน ตลอด 24 ชม. RN 1:6 ในทุกเวร อุปกรณ์ มีอุปกรณ์ประจำเตียง/ห้องผู้ป่วย รถเข็นและอุปกรณ์ช่วยชีวิตฉุกเฉิน เครื่องมือและชุดเครื่องมือ เพียงพอและพร้อมใช้งาน

แผนก 3 บริการผู้ป่วยใน IPD-ส1 มีจำนวนเตียงรับผู้ป่วยในอย่างเพียงพอ เพื่อรองรับผู้มีสิทธิ 2 = ร้อยละ 80 ขึ้นไป 1 = ร้อยละ 50-79 0 = น้อยกว่าร้อยละ 50 จำนวนเตียงเพียงพอ คือ เตียงที่เปิดให้บริการจริง *100 เตียงที่ควรมี เตียงที่ควรมี คิดจาก เตียงสำหรับ UC ที่ส่งต่อมาจากปฐมภูมิทุกแห่งรวมกัน (1:1000) เตียงสำหรับ UC ที่ส่งต่อมาจากหน่วยบริการอื่นในจังหวัด(1:2000)

แผนก 3 บริการผู้ป่วยใน IPD-ค 4 มีRN ปฏิบัติงานประจำอย่างน้อย 1 คน ในแต่ละเวร ต่อผู้ป่วยไม่เกิน 6 คน 2 = RN เป็นหัวหน้างาน และสัดส่วนได้ตามเกณฑ์ 1 = RN เป็นหัวหน้างาน และสัดส่วนไม่ได้ตามเกณฑ์ 0 = ไม่มี RN เป็นหัวหน้าเวร

แผนก 4 ห้องคลอด สถานที่ บุคลากร อุปกรณ์ จำนวนเตียง สถานที่ตั้งหน่วยงาน/จัดพื้นที่ใช้สอยภายในหอผู้ป่วย บุคลากร แพทย์ปฏิบัติงานประจำ ตลอด 24 ชม. RN 2 คน ต่อผู้ป่วย 1 คน ปฏิบัติงานประจำ 24 ชม. อุปกรณ์ มีอุปกรณ์พอเพียง/พร้อมใช้

แผนก 5 ห้องผ่าตัด สถานที่ บุคลากร อุปกรณ์ วิสัญญีแพทย์ 1:2ห้องผ่าตัด จำนวน 1ห้อง : 50เตียง ขนาด ไม่น้อยกว่า 25 ตรม. สูงไม่น้อยกว่า 3 ม. แบ่งพื้นที่ เป็น 4 โซน เครื่องปรับ อากาศแยกแต่ละห้อง ระบบสำรองไฟ/ติดต่อสื่อสาร บุคลากร ศัลยแพทย์ ปฏิบัติงานเต็มเวลา วิสัญญีแพทย์ 1:2ห้องผ่าตัด วิสัญญีพยาบาล 2:1 ห้องผ่าตัด ทีม RN 1 ทีมพร้อมปฏิบัติงานนอกเวลา อุปกรณ์ มีอุปกรณ์พอเพียง/พร้อมใช้

90 เตียงขึ้นไป ทันตแพทย์ผู้เชี่ยวชาญหรือทันตแพทย์ผ่านการอบรมหลังปริญญา แผนก 6 ทันตกรรม สถานที่ พื้นที่ใช้สอย ความสะดวก บุคลากร ความเพียงพอ 90 เตียงขึ้นไป ทันตแพทย์ผู้เชี่ยวชาญหรือทันตแพทย์ผ่านการอบรมหลังปริญญา อุปกรณ์ เพียงพอตามรายการ

แผนก 6 ทันตกรรม Dent ค-2 90 เตียงขึ้นไป ทันตแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ หรือทันตแพทย์ผ่านการอบรมหลังปริญญา 2 = มีทันตแพทย์สาขาทันตกรรมทั่วไป อย่างน้อย 1 คน และ ทันตแพทย์ผู้เชี่ยวชาญหรือทันตแพทย์ผ่านการอบรมหลังปริญญา ร่วมให้บริการ 1 = มีทันตแพทย์ผู้เชี่ยวชาญหรือทันตแพทย์ผ่านการอบรมหลังปริญญา แต่ไม่มีทันตแพทย์สาขาทันตกรรมทั่วไป 0 = ไม่มีทันตแพทย์

แผนก 7 เภสัชกรรม สถานที่ บุคลากร อุปกรณ์ สถานที่จ่ายยา สถานที่รอรับยา บริเวณให้คำปรึกษา คลังยา/ความคุมสภาพแวดล้อม บุคลากร ปฏิบัติงานประจำ อย่างน้อย 1 คน และไม่น้อยกว่า 1 คนต่อ 60 เตียง ปฏิบัติงานประจำ เป็นเวรผลัดตลอด 24 ชม. อุปกรณ์ เพียงพอและพร้อมใช้งานตามรายการที่กำหนด

แผนก 8 เทคนิคการแพทย์ สถานที่ บุคลากร อุปกรณ์ เหมาะสม/สะดวก แบ่งพื้นที่ใช้สอย ความสะอาด/ การระบายอากาศ การเก็บขยะ บุคลากร ปฏิบัติงานประจำ อย่างน้อย 1 คน และไม่น้อยกว่า 1 คนต่อ 60 เตียง ปฏิบัติงานประจำ เป็นเวรผลัดตลอด 24 ชม. อุปกรณ์ เพียงพอและพร้อมใช้งานตามรายการที่กำหนด ตรวจสอบสภาพการใช้งาน

แผนก 9 รังสีวินิจฉัย สถานที่ บุคลากร อุปกรณ์ แยกเป็นสัดส่วน/สะดวกต่อการเข้ารับบริการ แบ่งพื้นที่ใช้สอย ป้องกันอันตราย จากรังสี มีป้ายเตือนผู้รับบริการ บุคลากร มีนักรังสีเทคนิคปฏิบัติงานประจำ อย่างน้อย 1คน และไม่น้อยกว่า 1 คนต่อ 60 เตียง ปฏิบัติงานประจำ เป็นเวรผลัดตลอด 24 ชม. อุปกรณ์ ได้มาตรฐานทางการแพทย์

แผนก 10 หอผู้ป่วยหนัก สถานที่ บุคลากร อุปกรณ์ จำนวนเตียงอย่างน้อย 2 เตียง/1:50 ระยะห่างระหว่างเตียงไม่น้อยกว่า 2 ม. บุคลากร แพทย์ปฏิบัติงานประจำ อย่างน้อย 1 คน ตลอด 24ชม. RN 1:2 เวรผลัด ตลอด 24 ชม. อุปกรณ์ เพียงพอ พร้อมใช้

แผนก 10 หอผู้ป่วยหนัก ICU ส2 จำนวนเตียงอย่างน้อย 2 เตียง/1:50 (จำนวนเดิม ไม่เกิน 12 เตียงต่อหอผู้ป่วย) แนวทางการพิจารณา 1.จำนวนเตียงอย่างน้อย 2 เตียง 2.สัดส่วน จำนวนเตียง ต่อ เตียงของหน่วยบริการ 1:50 ICU ค2 จำนวน RN ตามมาตรฐานของสภาการพยาบาล แนวทางการพิจารณา กำหนดสัดส่วนของRN 1:2 เวรผลัด ตลอด 24 ชม. 2 = RN 1:2 เวรผลัด ตลอด 24 ชม. 1 = RN หรือพยาบาลเทคนิค 1:2 เวรผลัด ตลอด 24 ชม. 0 = สัดส่วนต่ำกว่าเกณฑ์ที่กำหนด 2 = เป็นไปตามเกณฑ์ 1 = จำนวนเตียงตามเกณฑ์ แต่สัดส่วนต่ำกว่าเกณฑ์ 0 = ต่ำกว่าเกณฑ์แต่พออนุโลมไม่ได้

แผนก 11 กายภาพบำบัด สถานที่ บุคลากร อุปกรณ์ ความสะดวก/การแบ่งพื้นที่ใช้สอย ห้องน้ำคนพิการ บุคลากร นักกายภาพบำบัด ไม่น้อยกว่า 1 คน ต่อ 30 เตียง ปฏิบัติงานประจำ อุปกรณ์ เพียงพอ พร้อมใช้

THANK YOU FOR YOUR ATTENTION