งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ความรู้เบื้องต้นระบบระบายอากาศ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ความรู้เบื้องต้นระบบระบายอากาศ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ความรู้เบื้องต้นระบบระบายอากาศ

2 มาตรฐานการระบายอากาศ
เพื่อให้มีการผลัดเปลี่ยนอากาศ ลดปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์และก๊าซ ลดความเข้มของกลิ่นหรือขจัดให้หมดไป ทำให้ความชื้นที่พื้นผิวระเหยง่ายขึ้น ในหลายกรณี กิจกรรมบางอย่างในอาคารอาจจะก่อให้เกิดสิ่งปะปนหรือสิ่งปนเปื้อนขึ้น จำเป็นจะต้องใช้ลมระบายออกโดยตรงและจะไม่ให้ปะปนกับลมส่วนอื่นในห้อง ให้ออกสู่บริเวณภายนอกอาคารอย่างเหมาะสม

3 การระบายอากาศในกรณีที่ไม่มีการปรับสภาวะอากาศ
ทำได้ 2 วิธีคือ 1. การระบายอากาศโดยวิธีธรรมชาติ เงื่อนไข ห้องหรือบริเวณมีผนังด้านนอกอย่างน้อยหนึ่งด้านโดยมีช่องเปิดสู่ภายนอกได้ ซึ่งจะต้องเปิดให้อากาศผ่านในขณะใช้สอยพื้นที่นั้น ๆ ต้องมีพื้นที่ลมผ่านสุทธิไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 เมื่อเทียบกับพื้นที่ 2. การระบายอากาศโดยวิธีกล ใช้กับพื้นที่ใดก็ได้ โดยให้มีอุปกรณ์ขับเคลื่อนอากาศเพื่อให้เกิดการนำอากาศภายนอกเข้าสู่ห้องหรือบริเวณ โดยมีอัตราไม่น้อยกว่า ที่ระบุไว้ ในกฎกระทรวงฯ ที่ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร

4 การระบายแบบธรรมชาติ การระบายแบบวิธีกล

5 มาตรฐานระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

6 อัตราการระบายอากาศในสถานพยาบาล

7 การคำนวณปริมาตรห้อง และอัตราการระบายอากาศ
ปริมาณการระบายอากาศต่อชั่วโมง อัตราการระบายอากาศต่อชั่วโมง

8 กำลังไฟฟ้าเข้าสูงสุด
อัตราการระบายอากาศและค่ากำลังไฟฟ้าเข้า ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมของพัดลมดูดอากาศ (จาก มอก ) ขนาดใบพัด (นิ้ว) 6 8 10 12 16 20 อัตราการระบายอากาศ (ลบ.เมตร/ชั่วโมง) 270 (216) 360 (336) 600 900 1680 2700 กำลังไฟฟ้าเข้าสูงสุด (วัตต์) 22 33 40 46 80 120 หมายเหตุ 1. ค่าในวงเล็บใช้กับพัดลมติดกระจก 2. สำหรับพัดลมที่มี 2 ทิศทาง ค่าที่กำหนดในตารางเป็นค่าที่ดูดออก

9 การคำนวณอัตราระบายอากาศจากสเปกของพัดลม
Air changes/hr = CFMx60 min/volume of room 0.26 m3 x 60 min x 26 w = ลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมง 1 ลูกบาศก์ฟุตต่อนาที(CFM) = 1.69 ลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมง(CMH)

10 การเลือกขนาดและชนิดของพัดลมฯ
พัดลม ฯ ชนิดติดกระจกและผนัง พัดลมฯ ชนิดติดเพดาน พัดลม ฯ ชนิด Centrifugal

11 พัดลมระบายอากาศชนิดติดเพดาน
ระบายอากาศตั้งแต่ 90 ลบ.ม/ชม. ขึ้นไป สามารถต่อท่อระบายอากาศได้ ส่วนมากใช้ระบายอากาศ ที่อับไม่สามารถระบายอากาศออกผนังข้าง ๆ ได้ เช่น ติดพัดลมไว้กับเพดาน แล้วต่อท่อส่งลมไปทิ้งนอกอาคาร

12 พัดลมระบายอากาศชนิดเพดาน
ระบายอากาศตั้งแต่ 400 ลบ.ม/ชม. ไม่ควรต่อท่อระบายอากาศ ส่วนมากใช้ระบายอากาศ ห้องทั่วไป โดยติดพัดลมฯ ไว้กับเพดาน เช่น ห้องผู้ป่วยใน ผู้ป่วยนอก อาคารชั้นบน

13 พัดลมระบายอากาศชนิดติดผนัง
ระบายอากาศตั้งแต่ 300 ลบ.ม/ชม. ขึ้นไป ไม่ควรต่อท่อระบายอากาศ ส่วนมากใช้ระบายอากาศ ห้องทั่วไป โดยติดพัดลมฯ ไว้กับผนัง เช่น ห้องผ่าตัด ห้องผู้ป่วยพิเศษ สำนักงาน

14 พัดลมระบายอากาศชนิดติดกระจก
ระบายอากาศตั้งแต่ 200 ลบ.ม/ชม. ไม่ควรต่อท่อระบายอากาศ ส่วนมากใช้ระบายอากาศ ห้องทั่วไป โดยติดพัดลมฯ ไว้กับกระจก เช่น ห้องผู้ป่วยพิเศษ สำนักงาน

15 พัดลมระบายอากาศชนิดเหวี่ยงหนีศูนย์
ระบายอากาศตั้งแต่ 200 ลบ.ม/ชม. สามารถต่อท่อระบายอากาศได้ ส่วนมากใช้ระบายอากาศ ห้องทั่วไปต้องต่อท่อ โดยติดพัดลมฯ ไว้กับเพดาน เช่น ห้องผู้ป่วยใน ผู้ป่วยนอก อาคารชั้นล่าง

16 ตัวอย่าง ปัญหา มีกลิ่นตลอดเวลา สาเหตุ สารเคมีตกลงด้านล่าง
พัดลมฯแรงดูดน้อย แก้ไข ระบายอากาศระดับต่ำ

17 ห้องล้างฟิล์ม

18 เทคนิค/แนวทางการแก้ปัญหาการระบายอากาศ

19 เทคนิค/แนวทางการแก้ปัญหาการระบายอากาศ
-หาสาเหตุ(แก้ที่ต้นเหตุ) -แลกเปลี่ยนข้อมูลกับเจ้าของสถานที่ -กำหนดอัตราระบายอากาศ -กำหนดทิศทางเข้า-ออกอากาศ -ประเมินผลและข้อมูลหลังดำเนินการ

20 T.B. Viruses Bacterias 3 Feet

21 (ไม่มีระบบกรองอากาศ)
ห้องตรวจคัดกรองฯ (ไม่มีระบบกรองอากาศ) มุมมองด้านข้าง มุมมองด้านบน

22 (ไม่มีระบบกรองอากาศ)
ห้องตรวจคัดกรองฯ (ไม่มีระบบกรองอากาศ)

23 ห้องตรวจคัดกรองฯ (มีระบบกรองอากาศ)

24 อาคารผู้ป่วยนอก ติดตั้งระบบปรับอากาศ ขาดระบบระบายอากาศ
วัดค่า CO2 1,391 PPM อาคารผู้ป่วยนอก ติดตั้งระบบปรับอากาศ ขาดระบบระบายอากาศ

25

26

27 การใช้งานเครื่องฟอกอากาศ

28 Filter อุดตัน Filter สะอาด

29 ห้องทันตกรรม

30 ระบายอากาศจากกลางห้อง

31 ห้องตรวจโรคทั่วไป มุมมองด้านข้าง มุมมองด้านบน

32 กำหนดทิศทางเข้า-ออกอากาศ
OPD


ดาวน์โหลด ppt ความรู้เบื้องต้นระบบระบายอากาศ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google