งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ชี้แจงเกณฑ์การประเมินผล ตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิภาพ 1.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ชี้แจงเกณฑ์การประเมินผล ตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิภาพ 1."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ชี้แจงเกณฑ์การประเมินผล ตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิภาพ 1

2 ตัวชี้วัดที่ 2 ร้อยละความสำเร็จของการเบิกจ่ายเงิน งบประมาณ คำอธิบาย กองคลัง การพิจารณาผลสำเร็จของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ ประเมินจากอัตราการเบิก จ่ายเงินงบประมาณ 2 ประเภท 1)การเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายภาพรวม 2)การเบิกจ่าย งบประมาณรายจ่ายลงทุน การคำนวณวงเงินงบประมาณรายจ่ายภาพรวม ไม่รวมเงินงบประมาณที่ได้รับการ จัดสรรเพิ่มเติมระหว่างปีงบประมาณ (รับโอนหลังวันที่ 1 ก.ค. 58) ใช้ข้อมูลการเบิกจ่ายจาก ระบบ GFMIS การให้คะแนน พิจารณาตามความสามารถในการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่าย ภาพรวม/รายจ่ายลงทุน ของหน่วยงานเทียบกับวงเงินงบประมาณที่ได้รับ ทุกหน่วยงานต้องจัดทำคำรับรองตัวชี้วัดนี้ โดยการประเมินผลระดับหน่วยงาน จะแบ่งเกณฑ์การประเมินผลหน่วยงานเป็น 2 กลุ่ม คือ 1. หน่วยงานที่ไม่มีงบประมาณรายจ่ายลงทุน ประเมินผลตามเกณฑ์การให้คะแนน กรณีที่ 1 2. หน่วยงานที่มีงบประมาณรายจ่ายลงทุน ประเมินผลตามเกณฑ์การให้คะแนน กรณีที่ 2

3 กรณีที่ 1 หน่วยงานที่ไม่มีงบประมาณรายจ่ายลงทุน ตัวชี้วัด น้ำหนัก เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับร้อยละ ของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ 20406080100 ความสามารถในการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ รายจ่ายภาพรวม - ไตรมาสที่ 20.50 4951535556 - ไตรมาสที่ 30.25 7072747677 - ไตรมาสที่ 40.25 9092949697 รวม1.0 เกณฑ์การให้คะแนน แบ่งเป็น 2 กรณี เกณฑ์การให้คะแนน

4 กรณีที่ 2 หน่วยงานที่มีงบประมาณรายจ่ายลงทุน ตัวชี้วัด น้ำหนัก เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับร้อยละ ของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ 20406080100 1. ความสามารถในการเบิกจ่ายเงิน งบประมาณรายจ่ายภาพรวม - ไตรมาสที่ 2 0.30 4951535556 - ไตรมาสที่ 3 0.15 7072747677 - ไตรมาสที่ 4 0.15 9092949697 2. ความสามารถในการเบิกจ่าย งบประมาณรายจ่ายลงทุน 0.407578818487 รวม1.0 หลักฐานอ้างอิง 1. ข้อมูลการเบิกจ่ายงบประมาณจากระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐ แบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) 2. รายงานวงเงินงบประมาณที่ประหยัดได้ (งบประมาณเหลือจ่าย) และไม่ได้ นำเงินดังกล่าวไปใช้ในภารกิจหรือโครงการอื่นๆ

5 5 ตัวชี้วัดที่ 3 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการ ตามมาตรการประหยัดพลังงาน ความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงาน : การที่หน่วยงาน สามารถจัดการใช้ไฟฟ้าและน้ำมันเชื้อเพลิงภายในหน่วยงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีผลการใช้ไฟฟ้าและน้ำมันเชื้อเพลิงลดลงได้อย่างน้อย ร้อยละ 10 ของปริมาณ การใช้มาตรฐาน การประหยัดพลังงาน พิจารณาจากการใช้พลังงาน 2 ชนิด ได้แก่ ไฟฟ้า และน้ำมัน เชื้อเพลิง หน่วยงานที่มีบทบาทภารกิจเกี่ยวข้องต่อการบรรลุเป้าหมายตัวชี้วัด ต้องจัดทำคำ รับรองฯ ตัวชี้วัดนี้ ซึ่งได้แก่ ทุกหน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย คำอธิบาย การประเมินผล พิจารณาจากความครบถ้วนของข้อมูลพื้นฐานสำหรับการประเมิน ปริมาณการใช้พลังงานมาตรฐานและค่าดัชนีการใช้พลังงาน ข้อมูลปริมาณการใช้ พลังงานจริงของหน่วยงาน ข้อมูลการติดตามและรายงานผลการดำเนินงานตาม มาตรการประหยัดพลังงาน ที่รายงานทางเว็บไซต์ www.e-report.energy.go.th และ ผลการประหยัดพลังงานตามเกณฑ์การให้คะแนนwww.e-report.energy.go.th สำนักงาน เลขานุการ กรม

6 เกณฑ์การให้คะแนน ประเด็นการประเมินผล คะแนน ไฟฟ้าน้ำมัน เชื้อเพลิง ขั้นตอนที่ 1 มีการติดตามและรายงานผลการดำเนินการตามมาตรการ ประหยัดพลังงานด้านไฟฟ้า/น้ำมัน ของปีงบประมาณ พ.ศ.2558 รอบ 6 เดือน และรอบ 12 เดือน ตามรูปแบบที่ สนพ.กำหนด 10 ขั้นตอนที่ 2 - มีการรายงานข้อมูลพื้นฐานสำหรับการประเมินปริมาณการ ใช้ไฟฟ้า/น้ำมัน และค่าดัชนีการใช้ไฟฟ้า/น้ำมัน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2558 - มีการรายงานข้อมูลปริมาณการใช้ไฟฟ้า/น้ำมันที่ใช้จริง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2558 ครบถ้วน 12 เดือน (ต.ค. 57 – ก.ย.58) 5555 5555 ขั้นตอนที่ 3 มีผลการคำนวณ EUI ด้านการใช้ไฟฟ้า/น้ำมัน ประจำปี งบประมาณ พ.ศ.2558 (อยู่ในช่วง -0.200 ถึง -0.333) 10 ขั้นตอนที่ 4 มีผลการคำนวณ EUI ด้านการใช้ไฟฟ้า/น้ำมัน ประจำปี งบประมาณ พ.ศ.2558 (อยู่ในช่วง -0.091 ถึง -0.199) 10 ขั้นตอนที่ 5 มีผลการคำนวณ EUI ด้านการใช้ไฟฟ้า/น้ำมัน ประจำปี งบประมาณ พ.ศ.2558 (อยู่ในช่วง 0 ถึง -0.090) 10 รวม50

7 หลักฐานอ้างอิง/แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล 1. ข้อมูลรายงานในระบบ www.e-report.energy.go.th 2. หน่วยงานรายงานข้อมูลพื้นฐานสำหรับการประเมินปริมาณการใช้ไฟฟ้า และ น้ำมันเชื้อเพลิงมาตรฐาน และค่าดัชนีการใช้ไฟฟ้า/น้ำมันเชื้อเพลิง ข้อมูลปริมาณการ ใช้ไฟฟ้า/น้ำมันเชื้อเพลิงจริงของหน่วยงาน ข้อมูลการติดตามและรายงานผลการ ดำเนินงานตามมาตรการประหยัดพลังงาน ในระบบ www.e-report.energy.go.th ให้ ครบ 12 เดือน (ตั้งแต่เดือนต.ค.57- ก.ย.58)www.e-report.energy.go.th ดัชนีชี้วัดประสิทธิภาพการใช้พลังงาน (Energy Utilization Index : EUI) = (90% ของปริมาณการใช้พลังงานมาตรฐาน) – ปริมาณการใช้พลังงานจริง ปริมาณการใช้พลังงานจริง สูตรการคำนวณค่าดัชนีการใช้พลังงาน :

8 สูตรการคำนวณการใช้พลังงานมาตรฐาน ไฟฟ้ามาตรฐาน = [(1.501 × จำนวนบุคลากร) + (0.002 × พื้นที่ใช้สอยภายใน อาคาร) + (0.439 × เวลาทำการ) + (0.002 × จำนวนผู้เข้ามา ใช้บริการ)] × อุณหภูมิ น้ำมันมาตรฐาน = (6.917 × จำนวนบุคลากร) + (0.841 × ขนาดของพื้นที่ ให้บริการ) + (5.638 × ระยะห่างจากตัวจังหวัด) ไฟฟ้ามาตรฐาน = [(1.294 × จำนวนบุคลากร) + (0.053 × พื้นที่ใช้สอยภายใน อาคาร) + (14.64 × เวลาทำการ) + (0.016 × จำนวนผู้เข้ามาใช้ บริการ)] × อุณหภูมิ น้ำมันมาตรฐาน = (2.814 × จำนวนบุคลากร) + 4,065.05 หน่วยงานระดับกรม สำนักงานทั่วไป

9 โรงพยาบาล ไฟฟ้ามาตรฐาน = [(0.108 × จำนวนบุคลากร) + (0.050 × พื้นที่ใช้สอยภายในอาคาร) + (8.898 × จำนวนเตียง) + (0.194 × จำนวนผู้ป่วยนอก) + (0.040 × จำนวนวันนอนรวมผู้ป่วยใน)] × อุณหภูมิ น้ำมันมาตรฐาน = (0.531 × จำนวนบุคลากร) + (0.248 × จำนวนวันนอนรวมผู้ป่วยใน) + (0.161 × พื้นที่ของจังหวัดที่ตั้ง) + (10.397 × ระยะห่างจาก จังหวัด)

10 1.บุคลากรทำงานเต็มเวลา (คน) - จำนวนบุคลากรที่ทำงานเต็มเวลาทำการ ตลอดทั้งเดือนนั้นนับรวมทั้ง ข้าราชการ ลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึกษา นักศึกษาฝึกงาน - ถ้าแบ่งเวลาทำงานเป็นรอบ ก็ให้นับจำนวนรวมกัน 2. จำนวนผู้เข้ามาใช้บริการ (คน) - จำนวนบุคคลภายนอกที่เข้ามาใช้บริการ - จำนวนของผู้ที่เข้าใช้ห้องประชุม 3. เวลาทำการ (ชั่วโมง) - เวลาทำงานปกติ นับรวมทั้งเดือนเฉพาะวันทำการ - เวลาทำงานนอกเวลา (Overtime) 4. จำนวนเตียง (เตียง) - นับจำนวนเตียงทั้งหมด (มีคนไข้ และไม่มีคนไข้) 5. จำนวนผู้ป่วยนอก (ครั้ง) - นับจำนวนครั้งที่มารับบริการในแต่ละวัน - ไม่นับจำนวนญาติ/ผู้ติดตาม 6. จำนวนผู้ป่วยใน - จำนวนผู้ป่วยที่รับไว้รักษา และนอนโนโรงพยาบาลในแต่ละวัน ข้อสังเกตในการกรอกข้อมูลพื้นฐาน

11 Q&A 11


ดาวน์โหลด ppt ชี้แจงเกณฑ์การประเมินผล ตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิภาพ 1.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google