การบันทึกบัญชีที่สำคัญ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักมาตรฐานด้านการบัญชีภาครัฐ
Advertisements

เชื่อมโยงนโยบายแต่ละระดับ
ผลการเบิกจ่าย ประจำปีงบประมาณ 2556 ณ วันที่ 26 เมษายน 2556 ผลการเบิกจ่าย ประจำปีงบประมาณ 2556 ณ วันที่ 26 เมษายน 2556.
โดย... กอง บริหารงาน บุคคล วันพุธที่ 12 พฤษภาคม พ. ศ ณ ห้อง ประชุมสภาชั้น 4 อาคารทีปวิชญ์
นักทรัพยากรบุคคล ชำนาญการพิเศษ
โดย งานการเงินและ บัญชี. งบประจำ / ลงทุน ล้านบาท งบประจำ / ลงทุน ล้านบาท เบิกจ่าย / ก่อหนี้ ล้านบาท เบิกจ่าย / ก่อหนี้ ล้านบาท.
รายงานการเบิกจ่ายเงินงบประมาณแผ่นดิน ปี 2550 ณ 10 กันยายน 2550 รายการได้รับเบิกจ่าย แล้ว รอ เบิกจ่าย คงเหลือ งบ บุคลากร 5,435, งบ ดำเนินงา น.
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 20 พนักงาน ราชการ 55 ลูกจ้างประจำ 10 รวม 35 อัตราข้าราชการ 3 ตำแหน่ง อัตราว่าง - มาช่วยราชการ - ไปช่วยราชการ 2 (1. นางศรินทร์ เจริญผล.
1. 2 งบประมาณ ทั้งสิ้น 33, ลบ. งบประจำ ลบ. (0.37%) งบ บุคลากร ลบ. (0.25%) งบ ดำเนินงา น ลบ. (0.12%) งบลงทุน 33,
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการ กรม สำนักงานสหกรณ์จังหวัด สระบุรี ( กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการ จัดการสหกรณ์ ) ข้อมูล ณ วันที่ 25 ธันวาคม โครงการตามนโยบายรัฐบาล.
การพัฒนาหลักเกณฑ์การจ่าย Pay per performance : P4P
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2625 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4241 อัตราว่าง จำนวน 1 อัตรา ตำแหน่งนักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
อัตร า บรร จุ ข้าราชการ 20 พนักงาน ราชการ 55 ลูกจ้างประ จำ 10 รวม 35 อัต รา ข้าราชการ 3 ตำแหน่ง อัตราว่าง - มาช่วย ราชการ - ไปช่วย ราชการ 2 (1. นางศรินทร์
1 ผลการดำเนินงานและการใช้จ่าย งบประมาณปี 2554 พลางก่อน ผลการดำเนินงานและการใช้จ่าย งบประมาณปี 2554 พลางก่อน สำนักแผนงาน กรมทางหลวงชนบท ข้อมูล ณ 23 ธ.ค.54.
ชี้แจงเกณฑ์การประเมินผล ตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิภาพ 1.
กรอบการบันทึกบัญชีปีงบประมาณ 2558 ประเภทเงินงบประมาณ
ธุรการกลุ่มบริหารงานการเงิน และสินทรัพย์
1.
ธุรการกลุ่มบริหารงาน การเงินและสินทรัพย์. ‘ งานธุรการ 1. เป็นเจ้าหน้าที่ธุรการ ของกลุ่มงานบริหารงานการเงิน และสินทรัพย์ 2. พิมพ์หนังสือแจ้งจากสำนักการคลังและสินทรัพย์
คู่มือการยืมเงินราชการและเงินทด รองราชการ วัตถุประสงค์ การยืมเงินราชการและเงินทดรอง ราชการ เป็นกระบวนการหนึ่งของการเบิก จ่ายเงินจากคลัง คู่มือการปฏิบัติงานเรื่อง.
บัญชี อิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิต นายยงยุทธ พันตารักษ์ พัฒนาการอำเภอเมือง พิจิตร จังหวัดพิจิตร.
คำแนะนำ นายทะเบียนสหกรณ์ เรื่อง วิธีปฏิบัติทางบัญชีเกี่ยวกับ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน พ. ศ เรื่อง วิธีปฏิบัติทางบัญชีเกี่ยวกับ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน พ.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
การจัดซื้อจัดจ้างตามระเบียบ พัสดุ ประกาศคณะรักษาความรักษา ความสงบแห่งชาติ การซื้อและ การจัดจ้างด้วยระบบ อิเล็กทรอนิกส์ (e – GP) และการบริหาร งบประมาณ ขององค์กรปกครองส่วน.
กลุ่มงานบริหารทั่วไป มีงานในความรับผิดชอบ จำนวน ๓ งาน ได้แก่ - งานสารบรรณและงานธุรการทั่วไป - งานพัสดุ - งานการเงินและบัญชี
ผลการปฏิบัติงานของ กลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาการบริหาร การจัดการสหกรณ์ ประจำเดือน มกราคม 2558.
สัญญาก่อสร้าง.
แนวปฏิบัติทางบัญชีสิ้นปีงบประมาณ
การบริหารจัดการงบค่าเสื่อม ปี 2561
ระบบการควบคุมภายในกลุ่มวิสาหกิจชุมชน
แนวทางการบริหารงบค่าใช้จ่ายการตรวจคัดกรองและตรวจยืนยันมะเร็งลำไส้ใหญ่
การปรับปรุงบัญชี และการแก้ไขข้อผิดพลาด
การบันทึกรายการค้าในสมุดบัญชี
น.ท.สุขสันต์ เหมศรี หน.ค่าใช้จ่าย กงต.กง.ทร. โทร 55562
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
ข่าวประชาสัมพันธ์สำนักงานเกษตรจังหวัดสุโขทัย
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
การจัดทำแผนเงินบำรุง
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
การปฏิบัติราชการของส่วนราชการระดับหน่วยงานภายใน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การดำเนินงานเมื่อสิ้นสุดโครงการ
รายงานผลการดำเนินงาน ตามแผน Planfin
การดำเนินงานกลุ่มบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ จังหวัดเชียงใหม่
การเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณ
มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด
กรมตรวจบัญชีสหกรณ์.
การจัดทำบัญชีสิ้นปีงบประมาณ
แนวทางใหม่ในการบริหารงานบุคคล ลูกจ้างประจำเงินรายได้
ประเด็นปัญหาที่ตรวจพบจากการตรวจสอบ
สำนักงานกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ สาขา 7
โดย นางสุลัดดา บุญรักษ์
ข้อเสนอแนวทางการบริหารระบบยา ปี 2561
ชาลิณี ปิยะประสิทธิ์ สปสช.เขต 10 อุบลราชธานี 21 กันยายน 2560
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
แนวปฏิบัติ การจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ
รูปแบบเงินกองทุนประกันสังคม
กรอบการบันทึกบัญชี 2560 สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า (UC)
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
รายงานสถานการณ์E-claim
4.2.3แผนการปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ประชุมชี้แจงการจัดทำงบประมาณรายจ่าย ปีงบประมาณ พ. ศ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การบันทึกบัญชีที่สำคัญ

มีการเปลี่ยนแปลง 4 หัวข้อใหญ่ๆ 1. การบันทึกบัญชีเงินกองทุน UC งบเหมาจ่ายรายหัว 2. การบันทึกบัญชีเงินกองทุน UC งบบริหารจัดการงบค่าเสื่อม 3. การบันทึกบัญชีเงินบริจาค กรณีเงินที่ได้รับบริจาคโดยมีข้อจำกัด ให้ใช้ได้เฉพาะดอกผลที่เกิดจากเงินต้น บันทึกรับรู้เป็นหมวดทุน 4. เพิ่มผังบัญชี 4.1. ทุน-คงเหลือยอดเงินต้น (เงินบริจาครอการรับรู้) 4.2. ค่ารักษาเบิกจ่ายตรง อปท 4.3. ค่าจ้างพนักงานกระทรวงสาธารณสุข 4.4. ค่าจ้างเหมาบุคลากร 4.5. ค่าจ้างตรวจทางห้องปฏิบัติการ (Lab) 4.6. ค่าจ้างตรวจเอกซเรย์ (X-Ray) 4.7. ค่าวัสดุทันตกรรมใช้ไป 4.8. ส่วนต่างค่ารักษาที่ต่ำกว่าประกันสังคม

เงินโครงการประกัน สุขภาพถ้วนหน้า การบันทึกบัญชี เงินฝากธนาคาร บันทึก 2 ขั้นตอน เงินฝากธนาคาร – นอกงบประมาณรอการจัดสรร เงินฝากธนาคาร – นอกงบประมาณ เงิน UC บันทึก 3 ขั้นตอน เมื่อได้รับครั้งแรก ลงบัญชีเป็นเงินรับฝากกองทุน UC เมื่อจัดสรร ให้ลงบัญชีเป็นรายได้ค่ารักษา UC- OPD รับล่วงหน้า นำรายได้รับล่วงหน้ามาตัดกับลูกหนี้ UC

เงินโครงการประกัน สุขภาพถ้วนหน้า(ของใหม่) ในกรณีที่ลูกหนี้UC OPD มีมากกว่า เงินโอน สิ้นเดือนให้ตัดลูกหนี้ UC OPD เข้าบัญชี ส่วนต่างค่ารักษาที่สูงกว่าเหมาจ่ายรายหัวกองทุน UC – OPD ทั้งจำนวน เมื่อได้รับเงินโอน นำเงินนั้นมาหารเฉลี่ยด้วยจำนวนเดือนที่ได้รับแล้วจึงนำมาตัดกับลูกหนี้ UC OPD ในเดือนนั้นๆถ้ามีผลต่างให้นำมาบันทึกเข้าบัญชี ส่วนต่างค่ารักษาที่สูงกว่าเหมาจ่ายรายหัวกองทุน UC – OPD ทั้งจำนวนที่โอนมา หลักการนี้มีข้อดีคือ ทำให้ทราบว่าแต่ละเดือนมีส่วนต่างค่ารักษาอยู่เท่าไร ของเดิมทราบเป็นรายไตรมาส

งบทดลอง(ของใหม่) 31 ธันวาคม 2555 รายการ Dr Cr เงินฝากธนาคาร นอกงบประมาณ 7,000,000 รายได้UC รับล่วงหน้า 1,000,000 รายได้ค่ารักษา UC- OPD ใน CUP 10,000,000 ส่วนต่างค่ารักษาที่สูงกว่าเหมาจ่ายรายหัว UC-OPD 4,000,000 ___________________________________ 11,000,000 11,000,000 ไม่มียอดลูกหนี้คงค้าง ในสิ้นเดือน จะเหลือบัญชีส่วนต่างค่ารักษา และ รายได้UC รับล่วงหน้าในกรณีที่โอนมามากกว่า3 เดือน

กรณีลูกหนี้น้อยกว่าเงินกองทุน UC-OPD ที่ได้รับจัดสรร(ของใหม่) สิ้นเดือนให้ตัดลูกหนี้ UC OPD เข้าบัญชี ส่วนต่างค่ารักษาที่สูงกว่าเหมาจ่ายรายหัวกองทุน UC – OPD ทั้งจำนวนในกรณีที่เงินยังไม่ได้โอนมา เมื่อได้รับเงินโอน ให้หารด้วยจำนวนเดือนที่ได้รับโอนมา แล้วนำเงินมาตัดกับลูกหนี้ UC OPD ในเดือนนั้นๆ ส่วนลูกหนี้ของเดือนที่ผ่านมาให้ตัดกับบัญชี ส่วนต่างค่ารักษาที่สูงกว่าเหมาจ่ายรายหัวกองทุน UC – OPD ทั้งจำนวนที่บันทึก แต่ละเดือนจะมีผลต่างเกิดขึ้นให้บันทึกเป็น รายได้เงินกองทุน UC – OPD

งบทดลอง(ของใหม่) 31 ธันวาคม 2555 รายการ Dr Cr เงินฝากธนาคาร นอกงบประมาณ 8,000,000 รายได้ค่ารักษา UC- OPD รับล่วงหน้า 1,000,000 รายได้ค่ารักษา UC- OPD ใน CUP 6,000,000 รายได้เงินกองทุน UC 1,000,000 ___________________________________ 8,000,000 8,000,000 ไม่มียอดลูกหนี้คงค้าง ในสิ้นเดือนถ้าเงินที่โอนมามากกว่า 3 เดือน

UC-IPD กรณีลูกหนี้สูงกว่า เงินกองทุน(ของใหม่) สิ้นเดือนให้ตัดลูกหนี้ UC IPD เข้าบัญชี ส่วนต่างค่ารักษาที่สูงกว่าข้อตกลงในการจ่ายตาม DRG ตามประเภทของ ลูกหนี้ IPD หลักการจะเหมือนกับ OPD คือ ลูกหนี้จะไม่มีในตอนสิ้นเดือน เมื่อได้รับเงินโอนต้องนำเงินไปหารเท่ากับจำนวนเดือนที่ได้รับจะนำไปตัดกับบัญชี ส่วนต่าง ที่เหลือจะเข้าบัญชี รายได้รับล่วงหน้า การตัดในเดือนที่ได้รับเงินในกรณีที่เงินไม่พอ จะใช้สัดส่วนของลูกหนี้ทั้งหมดเป็น ร้อยแล้วคิดตามสัดส่วน ผลต่างนำไปเข้าบัญชีส่วนต่างค่ารักษาที่สูงกว่าข้อตกลงในการจ่ายตาม DRG ตามประเภทของ ลูกหนี้ IPD

UC-IPD กรณีลูกหนี้น้อยกว่า เงินกองทุน ( เงินเหลือของใหม่) สิ้นเดือนให้ตัดลูกหนี้ UC IPD เข้าบัญชี ส่วนต่างค่ารักษาที่สูงกว่าข้อตกลงในการจ่ายตาม DRG ตามประเภทของ ลูกหนี้ IPD หลักการจะเหมือนเดิม คือ ลูกหนี้จะไม่มีในตอนสิ้นเดือน เมื่อได้รับเงินโอนจะต้องนำไปหารตามจำนวนเดือนที่ได้รับจัดสรรก่อนนำไปตัดบัญชีในแต่ละเดือนกับบัญชี ส่วนต่าง ที่เหลือจะเข้าบัญชี รายได้กองทุน UC- IPD(หมวด 4)

การบันทึกบัญชีเงินบริจาค เมื่อได้รับเงินบริจาค Dr เงินฝากนอกงบที่มีวัตถุประสงค์ Cr. ทุน คงยอดเงินต้น(รหัส3XXXX รหัสใหม่)

การบันทึกบัญชีเงินบริจาค เมื่อได้รับดอกเบี้ย ลงบัญชี 2 ขั้นตอน 1.Dr เงินฝากนอกงบที่มีวัตถุประสงค์ Cr. ดอกเบี้ยรับจากเงินฝากธนาคาร(4xxxx)

การบันทึกบัญชีเงินบริจาค เมื่อได้รับดอกเบี้ย 2.Dr เงินฝากนอกงบออมทรัพย์ Cr. เงินฝากนอกงบที่มีวัตถุประสงค์

การบันทึกบัญชีเงินบริจาค เมื่อสิ้นกันยายน 2556 มีเงินบริจาครอการรับรู้เหลืออยู่ให้ปรับบัญชี โดย Dr. รายได้จากเงินบริจาครอการรับรู้ Cr. ทุน คงยอดเงินต้น(รหัส3XXXX รหัสใหม่)

งบบริหารจัดการงบค่าเสื่อม(ของใหม่) บันทึกบัญชี 1 ขั้นตอน โดยรับรู้เป็นรายได้งบลงทุนเมื่อได้รับเงินโอน DR เงินฝากนอกงบประมาณมีวัตถุประสงค์(งบลงทุน) Cr. รายได้กองทุน UC งบลงทุน(4XXXXX) ถ้าเป็นของสอ. และโรงพยาบาลมีหน้าที่จัดซื้อให้สอ. ให้ลงบัญชีเป็น Cr.เงินรับฝากกองทุน UC (งบลงทุน)

หน่วยบริการรักษาพยาบาลผู้ป่วยเบิกจ่ายตรง อปท OPD ผู้ป่วยเบิกจ่ายตรง อปท มารับบริการ Dr ลูกหนี้ค่ารักษาพยาบาลเบิกจ่าย อปท OPD Cr รายได้ค่ารักษาเบิกจ่ายตรง อปท OPD เมื่อได้รับเงินโอนค่ารักษาพยาบาล Dr เงินฝากธนาคารนอกงบประมาณ Cr ลูกหนี้ค่ารักษาพยาบาลเบิกจ่าย อปท OPD

หน่วยบริการรักษาพยาบาลผู้ป่วยเบิกจ่ายตรง อปท IPD ผู้ป่วยเบิกจ่ายตรง อปท มารับบริการ Dr ลูกหนี้ค่ารักษาพยาบาลเบิกจ่าย อปท IPD Cr รายได้ค่ารักษาเบิกจ่ายตรง อปท IPD เมื่อได้รับเงินโอนน้อยกว่าค่ารักษาพยาบาล Dr เงินฝากธนาคารนอกงบประมาณ ส่วนต่างที่สูงกว่าข้อตกลงในการตามจ่าย DRG เบิกจ่ายตรง อปท Cr ลูกหนี้ค่ารักษาพยาบาลเบิกจ่าย อปท IPD เมื่อได้รับเงินโอนมากกว่าค่ารักษาพยาบาล ส่วนต่างที่ต่ำกว่าข้อตกลงในการตามจ่าย DRG เบิกจ่ายตรง อปท

1 ตุลาคม 2556 ปรับปรุงแยกวัสดุทันตกรรม Dr วัสดุทันตกรรม Cr เวชภัณฑ์มิใช่ยา , วัสดุการแพทย์ เมื่อกรรมการได้ตรวจรับพัสดุถูกต้องครบถ้วน Cr เจ้าหนี้เวชภัณฑ์มิใช่ยา , วัสดุการแพทย์ เมื่อชำระเงินให้ผู้ขาย Dr เจ้าหนี้เวชภัณฑ์มิใช่ยา , วัสดุการแพทย์ Cr เงินฝากธนาคารนอกงบประมาณ ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย

กรอบการบันทึกบัญชีค่าตอบแทนให้เจ้าหน้าที่ สิ้นเดือนหน่วยบริการจ่ายเงินให้เจ้าหน้าที่ Dr ค่าตอบแทนตามประเภท Cr เงินฝากธนาคารนอกงบประมาณ สิ้นเดือนหน่วยบริการไม่ได้จ่ายเงินให้เจ้าหน้าที่ Cr ค่าตอบแทนตามประเภทค้างจ่าย หน่วยบริการจ่ายเงินค่าตอบแทนค้างจ่าย Dr ค่าตอบแทนตามประเภทค้างจ่าย สิ้นปีงบประมาณหน่วยบริการไม่มีเงินจ่ายค่าตอบแทนที่ค้างจ่าย (กลับรายการ) Cr ค่าตอบแทนตามประเภท

การจ่ายเงินค่าจ้างพนักงานกระทรวงสาธารณสุข Dr ค่าจ้างพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (บริการ) (สนับสนุน) Cr เงินฝากธนาคารนอกงบประมาณ

การจ่ายค่าจ้างเหมาบุคลากรปฏิบัติงานที่มีลักษณะเป็นการประจำ Dr ค่าจ้างเหมาบุคลากร (บริการ) (สนับสนุน) Cr เงินฝากธนาคารนอกงบประมาณ

ค่าจ้างตรวจทางห้องปฏิบัติการ (Lab) Dr ค่าจ้างตรวจทางห้องปฏิบัติการ (Lab) Cr เงินฝากธนาคารนอกงบประมาณ

ค่าจ้างตรวจเอ็กซ์เรย์ (X-Ray) Dr ค่าจ้างตรวจเอ็กซ์เรย์(X-Ray) Cr เงินฝากธนาคารนอกงบประมาณ

สรุปเงินฝากธนาคารนอกงบประมาณรอจัดสรรจะต้องเท่ากับบัญชีเงินรับฝากกองทุน บัญชีเงินฝากธนาคาร บัญชีเงินรับฝากกองทุน ยอดเงินคงเหลือบัญชีเงินฝากธนาคารนอกงบประมาณรอการจัดสรร 1. บัญชีเงินรับฝากกองทุน UC 2111020199.201 2. เงินจัดสรรให้ลูกข่าย 3. เงินกองทุนประกันสังคม 2111020199.301 4. เงินรับฝากค่าบริหารจัดการ ประกันสังคม 2111020199.304 5. เงินรับฝากกองทุนแรงงาน ต่างด้าว 2111020199.501

การรับเงินงบลงทุนค่าเสื่อม UC จะต้องเท่ากับบัญชีเงินรับฝากกองทุน บัญชีเงินฝากธนาคาร ประเภทรายได้หมวด 4 บัญชีเงินฝากธนาคาร-นอกงบประมาณที่มีวัตถุประสงค์เฉพาะ(งบลงทุน UC) การรับเงินมีการบันทึกบัญชีรายได้กองทุน UC (งบลงทุน) ประเภทรายได้กองทุน UC (งบลงทุน) 4301020105.211

บัญชีเงินฝากธนาคาร-นอกงบประมาณที่มีวัตถุประสงค์เฉพาะ เงินบริจาคที่มีวัตถุประสงค์ เงินมัดจำประกันสัญญา เงินโครงการ PP

กรอบการบันทึกบัญชีเกณฑ์คงค้าง ประเภทเงิน UC จัดสรรให้ลูกข่าย

หน่วยบริการได้รับเงินโอนเหมาจ่ายรายหัวผู้ป่วยนอกล่วงหน้างวดที่ 1 จาก สป.สช. จำนวน 7,000,000 บาท จัดสรรให้ลูกข่าย 1,000,000 บาท Dr เงินฝากธนาคารนอกงบประมาณ(UC CUP) 6,000,000 1101030102.101 Cr รายได้ค่ารักษา UC – OPD รับล่วงหน้า6,000,000 2103010103.204 โรงพยาบาลจัดสรรให้ลูกข่าย 1,000,000 บาท Dr เงินฝากธนาคารนอกงบประมาณรอจัดสรร 1,000,000 1101030102.102 Cr เงินรับฝากกองทุน UC 1,000,000 2111020199.201

โรงพยาบาลโอนเงินเหมาจ่ายรายหัว OPD ให้ลูกข่าย 1,000,000 บาท โรงพยาบาล Dr เงินรับฝากกองทุน UC 1,000,000 2111020199.201 Cr เงินฝากธนาคารนอกงบประมาณรอจัดสรร 1101030102.102 1,000,000 ลูกข่าย Dr เงินฝากธนาคารนอกงบประมาณ 1,000,000 1101030102.101 Cr รายได้ค่ารักษา UC – OPD รับล่วงหน้า1,000,000 2103010103.204

กรอบการบันทึกบัญชีเกณฑ์คงค้าง ประเภทเงิน UC การรับเงินจาก สป. สช

กรณีได้รับเงินจัดสรรกองทุน UC ตามผลงานการบันทึกข้อมูลการให้บริการผู้ป่วยนอก / แพทย์ทางเลือก / ข้อมูลด้านการเงินการคลัง (จัดสรรเป็นของแม่ข่ายและลูกข่าย) รพ.ลงบัญชี Dr เงินฝากธนาคารนอกงบประมาณ (UC CUP) 1101030102.101 Cr รายได้กองทุน UC – OPD อื่น 4301020105.215 จัดสรรให้ ลูกข่าย Dr เงินฝากธนาคารนอกงบประมาณรอจัดสรร 1101030102.102 Cr เงินรับฝากกองทุน UC 2111020199.201

กรณีได้รับเงินจัดสรรกองทุน UC เพื่อการบริการเฉพาะโรคอื่น เช่น ผู้ติดเชื้อโรคเอดส์ จิตเวช ทดแทนไต และกองทุนโรคเฉพาะอื่น ซึ่งไม่ได้ใช้งบเหมาจ่ายรายหัว (ส่วนที่เป็นค่าบริหารจัดการ Dr เงินฝากธนาคารนอกงบประมาณ 1101030102.101 Cr รายได้กองทุน UC เฉพาะโรคอื่น 4301020105.222

กรณีได้รับเงินจัดสรรเพื่อการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคทุกโครงการจาก สสจ./สป.สช.และหน่วยงานอื่น P&P อื่น(จัดสรรเป็นของแม่ข่ายและลูกข่าย) รพ.ลงบัญชี Dr เงินฝากธนาคารนอกงบประมาณ 1101030102.101 Cr รายได้กองทุน UC – OPD อื่น 4301020105.215 จัดสรรให้ ลูกข่าย Dr เงินฝากธนาคารนอกงบประมาณรอจัดสรร 1101030102.102 Cr เงินรับฝากกองทุน UC 2111020199.201

กรณีได้รับเงินจัดสรรกองทุน UC อื่น ๆ ที่ได้รับโอนจาก สสจ. /สป. สช Dr เงินฝากธนาคารนอกงบประมาณ 1101030102.101 Cr รายได้กองทุน UC อื่น 4301020105.228

กรณีได้รับเงินช่วยเหลือเบื้องต้นกรณีผู้รับบริการ(มาตรา41)และเงินช่วยเหลือเบื้องต้นกรณีผู้ให้บริการ (จ่ายผ่านบัญชี 6 ของ สสจ.) Dr เงินฝากธนาคารนอกงบประมาณรอจัดสรร 1101030102.102 Cr เงินรับฝากกองทุน UC 2111020199.201 เมื่อมีการจ่ายเงินให้บันทึกบัญชีกลับรายการ Dr เงินรับฝากกองทุน UC Cr เงินฝากธนาคารนอกงบประมาณรอจัดสรร 1101030102.102

กรอบการบันทึกบัญชีเกณฑ์คงค้าง ประเภทเงินประกันสังคม

คู่สัญญาหลักได้รับเงินโอนจากกองทุนประกันสังคม (ทั้งส่วนของ 25% , 75% และเงินที่ได้รับจากกองทุนประกันสังคม) รพ.คู่สัญญาหลัก (Main Contractor) Dr เงินฝากธนาคาร-นอกงบฯรอจัดสรร (ปกส) 1,000,000 1101030102.102 Cr เงินกองทุนประกันสังคม 1,000,000 2111020199.301 คู่สัญญารอง ไม่มีการบันทึกบัญชี

เงินบริหารจัดการเพื่อการพัฒนาระบบบริการ 5 % กรณีคู่สัญญาหลักเป็นผู้ดูแลเงิน การจ่ายจัดสรรเงินเข้า 5 % กรณี รพ.คู่สัญญาหลัก ลงบัญชี 2 คู่บัญชี Dr เงินกองทุนประกันสังคม 50,000 2111020199.301 Cr เงินฝากธนาคาร-นอกงบฯรอจัดสรร (ปกส) 50,000 1101030102.102 Dr เงินฝากธนาคาร-นอกงบฯรอจัดสรร (5%) 50,000 Cr เงินรับฝากค่าบริหารจัดการประกันสังคม 50,000 2111020199.304

เงินบริหารจัดการเพื่อการพัฒนาระบบบริการ 5 % กรณีคู่สัญญาหลักเป็นผู้ดูแลเงิน การจ่ายเงินค่าบริหารจัดการ รพ.คู่สัญญาหลัก จ่ายเอง กรณี รพ.คู่สัญญาหลัก ลงบัญชี 2 คู่บัญชี Dr ค่าใช้จ่ายตามประเภท 10,000 (หมวด 5 รายจ่าย) Cr เงินฝากธนาคาร-นอกงบฯรอจัดสรร (5%) 10,000 1101030102.102 Dr เงินรับฝากค่าบริหารจัดการประกันสังคม 10,000 2111020199.304 Cr รายได้ค่าบริหารจัดการประกันสังคม 10,000 4313010199.301

เงินบริหารจัดการเพื่อการพัฒนาระบบบริการ 5 % กรณีคู่สัญญาหลักเป็นผู้ดูแลเงิน รพ.คู่สัญญาหลัก จ่ายให้คู่สัญญารอง / สสจ Dr เงินรับฝากค่าบริหารจัดการประกันสังคม 20,000 2111020199.30) Cr เงินฝากธนาคาร-นอกงบฯรอจัดสรร (5%) 20,000 1101030102.102 คู่สัญญารอง / สสจ รับเงิน Dr เงินฝากธนาคาร-นอกงบฯ 20,000 1101030102.101 Cr รายได้ค่าบริหารจัดการประกันสังคม 20,000 4313010199.301

เงินบริหารจัดการเพื่อการพัฒนาระบบบริการ 5 % กรณีคู่สัญญาหลักเป็นผู้ดูแลเงิน คู่สัญญารอง / สสจ จ่ายเงิน Dr ค่าใช้จ่ายตามประเภท 10,000 (หมวด 5 รายจ่าย) Cr เงินฝากธนาคาร-นอกงบฯ 10,000 1101030102.101

เงินบริหารจัดการเพื่อการพัฒนาระบบบริการ 5 % กรณี สสจ เป็นผู้ดูแลเงิน การจ่ายจัดสรรเงินเข้า 5 % รพ.คู่สัญญาหลัก Dr เงินกองทุนประกันสังคม 50,000 2111020199.301 Cr เงินฝากธนาคาร-นอกงบฯรอจัดสรร (ปกส) 50,000 1101030102.102 สสจ. Dr เงินฝากธนาคาร-นอกงบฯรอจัดสรร (5%) 50,000 Cr เงินรับฝากค่าบริหารจัดการประกันสังคม 50,000 2111020199.304

เงินบริหารจัดการเพื่อการพัฒนาระบบบริการ 5 % กรณี สสจ เป็นผู้ดูแลเงิน การจ่ายเงินค่าใช้จ่ายจัดการ สสจ จ่ายเอง Dr ค่าใช้จ่ายตามประเภท 10,000 (หมวด 5 รายจ่าย) Cr เงินฝากธนาคาร-นอกงบฯรอจัดสรร (5%) 10,000 1101030102.102 Dr เงินรับฝากค่าบริหารจัดการประกันสังคม 10,000 2111020199.304 Cr รายได้ค่าบริหารจัดการประกันสังคม 10,000 4313010199.301

เงินบริหารจัดการเพื่อการพัฒนาระบบบริการ 5 % กรณี สสจ เป็นผู้ดูแลเงิน สสจ.จ่ายให้คู่สัญญารอง Dr เงินรับฝากค่าบริหารจัดการประกันสังคม 20,000 2111020199.30) Cr เงินฝากธนาคาร-นอกงบฯรอจัดสรร (5%) 20,000 1101030102.102 คู่สัญญารอง รับเงิน Dr เงินฝากธนาคาร-นอกงบฯ 20,000 1101030102.101 Cr รายได้ค่าบริหารจัดการประกันสังคม 20,000 4313010199.301

เงินบริหารจัดการเพื่อการพัฒนาระบบบริการ 5 % กรณี สสจ เป็นผู้ดูแลเงิน คู่สัญญารอง จ่ายเงิน Dr ค่าใช้จ่ายตามประเภท 10,000 (หมวด 5 รายจ่าย) Cr เงินฝากธนาคาร-นอกงบฯ 10,000 1101030102.101

เงินกองทุนประกันสังคม การรับรู้ลูกหนี้/รายได้ค่ารักษาประกันสังคม OPD/IPD รพศ./รพท./รพช. Dr ลูกหนี้ค่ารักษาประกันสังคม OPD/IPDตามประเภท 1102050101.301-310 Cr รายได้ค่ารักษาประกันสังคม OPD/IPDตามประเภท 4301020106.305-314

หน่วยบริการรับรู้ลูกหนี้/รายได้ค่ารักษาประกันสังคม OPD การรับรู้ลูกหนี้/รายได้ค่ารักษาประกันสังคม OPD เครือข่าย (รพ.สต.) Dr ลูกหนี้ค่ารักษาประกันสังคม OPDเครือข่าย 3,000 1102050101.301-31 Cr รายได้ค่ารักษาประกันสังคม OPDเครือข่าย 3,000 4301020106.305 การรับรู้ลูกหนี้/รายได้ค่ารักษาประกันสังคม OPD นอกเครือข่าย (รพ.สต.) Dr เงินสด 2,000 Cr รายได้ชำระเงินเอง 2,000 4301020104.106

เมื่อสิ้นงวดบัญชีแต่ละเดือนปรับปรุงลูกหนีประกันสังคมในเครือข่ายตามสัดส่วนหนี้สูญ Dr ส่วนต่างค่ารักษาที่สูงกว่าเหมาจ่ายรายหัวและข้อตกลง OPD/IPD 4301020106.315/317/318/319 Cr ลูกหนี้ค่ารักษาประกันสังคม OPD/IPD เครือข่าย/นอกเครือข่าย 1101030102.301/302/303/304

หน่วยบริการคู่สัญญาหลักจัดสรรเงินค่าบริการทางการแพทย์และค่าพัฒนากิจการ 15 % ให้ รพ.สต. กรณีได้รับเงินน้อยกว่าลูกหนี้ค่ารักษา Dr เงินรับฝากนอกงบ 5,000+750 = 5,750 1101030102.101 Dr ส่วนต่างค่ารักษาที่สูงกว่าเหมาจ่ายรายหัว-กองทุนประกันสังคม OPD 2,000 4301020106.315 Cr ลูกหนี้ค่ารักษาพยาบาลประกันสังคม OPD เครือข่าย 1102050101.301 7,000 Cr รายได้ค่าตอบแทนและพัฒนากิจการ 4313001199.302 750

หน่วยบริการคู่สัญญาหลักจัดสรรเงินค่าบริการทางการแพทย์และค่าพัฒนากิจการ 15 % ให้ รพ.สต. กรณีได้รับเงินมากกว่าลูกหนี้ค่ารักษา Dr เงินรับฝากนอกงบ 5,000+750 = 5,750 1101030102.101 Cr ลูกหนี้ค่ารักษาพยาบาลประกันสังคม OPD เครือข่าย 1102050101.301 4,500 Cr รายได้กองทุนประกันสังคม 500 4301020106.303 Cr รายได้ค่าตอบแทนและพัฒนากิจการ 4313001199.302 750

กรอบการบันทึกบัญชีเกณฑ์คงค้าง ประเภทเงินแรงงานต่างด้าว

วันที่ 30 สิงหาคม 2556 โรงพยาบาลขายบัตรประกันสุขภาพคนต่างด่าวจำนวน 5 คน ๆ ละ 2.800 บาท รวมเป็นเงิน 14,000 บาท Dr เงินสด (5*2800) 14,000 1101010101.101 Cr รายได้ค่าตรวจสุขภาพ-บุคคลภายนอก(600*5) 4301020102.102 3,000 Cr รายได้ค่ารักษาแรงงานต่างด้าวรับล่วงหน้า(914*5) 2103010103.502 4,570 Cr เงินรับฝากกองทุนแรงงานต่างด้าว (206+130+900+50)*5 2111020199.501 6,430

เงินแรงงานต่างด้าว นำเงินค่าลงทะเบียนแรงงานต่างด้าวฝากธนาคาร Dr เงินฝากธนาคารนอกงบประมาณรอจัดสรร 14,000 1101030102.102 Cr เงินสด 14,000 1101010101.101 โรงพยาบาลโอนเงินค่าบริหารจัดการให้ สสจ.และส่วนกลาง Dr เงินรับฝากกองทุนแรงงานต่างด้าว 6,430 2111020199.501 Cr เงินฝากธนาคารนอกงบประมาณรอจัดสรร 6,430

ปรับปรุงเงินฝากธนาคารเงินแรงงานต่างด้าว Dr เงินฝากธนาคารนอกงบประมาณออมทรัพย์ 4,570 1101030102.101 Cr เงินฝากธนาคารนอกงบประมาณรอจัดสรร 4,570 1101030102.102

วันที่ 30 กย (สิ้นปีงบประมาณ) ปรับปรุงรายได้ค่ารักษาแรงงานต่างด้าวรับล่วงหน้าเป็นจำนวนเงิน 3,570 บาท (4,570-1000 เหลือรายได้รับล่วงหน้า 3,570 บาท) Dr รายได้ค่ารักษาแรงงานต่างด้าวรับล่วงหน้า 3,570 2103010103.502 Cr รายได้กองทุนแรงงานต่างด้าว 3,570 4301020106.502

กรอบการบันทึกบัญชีเกณฑ์คงค้าง ประเภทเงินอุดหนุน บุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ

สสจ.โอนเงินอุดหนุนบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิให้หน่วยบริการ Dr ค่าใช้จ่ายอื่น-เงินงบประมาณงบอุดหนุนโอนไป รพ 5212010199.111 Cr เงินฝากธนาคาร-เงินอุดหนุนบุคคลที่มีปัญหาสถานะ และสิทธิ 1101030102.101

สสจ.ได้รับเงินจากการวางฎีกาเบิกเงินอุดหนุนฯ จากคลังจังหวัด Dr เงินฝากธนาคารในงบประมาณ 1101020603.101 Cr รายได้เงินงบประมาณ-งบอุดหนุน 4307010106.101

สสจ.โอนเงินฝากธนาคารในงบประมาณ เข้าบัญชีเงินฝากอุดหนุนบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ Dr เงินฝากธนาคาร-เงินอุดหนุนบุคคลที่มีปัญหาสถานะ และสิทธิ 1101030102.101 Cr เงินฝากธนาคารในงบประมาณ 1101020603.101

กรณีสสจ.เบิกจ่ายเงินค่าบริหารจัดการ Dr ค่าใช้จ่ายตามประเภท (หมวด 5) Cr เงินฝากธนาคาร-เงินอุดหนุนบุคคลที่มีปัญหาสถานะ และสิทธิ 1101030102.101

รพศ./รพท./รพช./ ได้รับเงินอุดหนุนบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ รพศ./รพท./รพช./ ได้รับเงินอุดหนุนบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ Dr เงินฝากธนาคาร-เงินอุดหนุนบุคคลที่มีปัญหาสถานะ และสิทธิ 1101030102.101 Cr รายได้อื่น-เงินงบประมาณงบอุดหนุนรับโอนจาก รพ 4313010199.120

สสจ./รพศ./รพท.เมื่อได้รับดอกเบี้ยเงินฝากธนาคาร เงินอุดหนุนบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ Dr เงินฝากธนาคาร-เงินอุดหนุนบุคคลที่มีปัญหาสถานะ และสิทธิ 1101030102.101 Cr รายได้ดอกเบี้ยเงินฝากที่สถาบันการเงิน (รายได้แผ่นดิน) 4203010101.101

รพช.เมื่อได้รับดอกเบี้ยเงินฝากธนาคาร เงินอุดหนุนบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ Dr เงินฝากธนาคาร-เงินอุดหนุนบุคคลที่มีปัญหาสถานะ และสิทธิ 1101030102.101 Cr เงินรับฝากรายได้แผ่นดินอื่น 2111020199.103

รพช.นำส่งดอกเบี้ยเงินฝากธนาคารเงินอุดหนุนที่มีปัญหาสถานะและสิทธิให้ สสจ.ส่งเป็นรายได้แผ่นดิน Dr เงินรับฝากรายได้แผ่นดินอื่น 2111020199.103 Cr เงินฝากธนาคาร-เงินอุดหนุนบุคคลที่มีปัญหาสถานะ และสิทธิ 1101030102.101

สสจ. รับดอกเบี้ยเงินฝากธนาคารเงินอุดหนุนที่มีปัญหาสถานะและสิทธิที่ รพช สสจ.รับดอกเบี้ยเงินฝากธนาคารเงินอุดหนุนที่มีปัญหาสถานะและสิทธิที่ รพช. ส่งเป็นรายได้แผ่นดิน Dr เงินฝากธนาคาร-เงินอุดหนุนบุคคลที่มีปัญหาสถานะ และสิทธิ 1101030102.101 Cr รายได้ดอกเบี้ยเงินฝากที่สถาบันการเงิน (รายได้แผ่นดิน) 4203010101.101

สสจ./รพศ./รพท./ นำส่งดอกเบี้ยเงินฝากธนาคารเงินอุดหนุนเป็นรายได้แผ่นดิน Dr รายได้แผ่นดินนำส่งคลัง 5210010103.101 Cr เงินฝากธนาคาร-เงินอุดหนุนบุคคลที่มีปัญหาสถานะ และสิทธิ 1101030102.101

สสจ./ รพศ./ รพท./ รพช./ จ่ายค่าใช้จ่ายโครงการ PP Dr ค่าใช้จ่ายตามโครง การ (P&P) บุคคลที่มีปัญหาสถานะ และสิทธิ 5104030299.701 Cr เงินฝากธนาคาร-เงินอุดหนุนบุคคลที่มีปัญหาสถานะ 1101030102.101

สสจ./ รพศ./ รพท./รพช. หากมีเงินเหลือจ่ายให้นำส่งเป็นรายได้แผ่นดิน (ตามระเบียบเงินอุดหนุนสามารถใช้ได้ 2 ปี) สสจ./ รพศ./ รพท. Dr ผลสะสมจากการแก้ไขข้อผิดพลาด 3102010102.201 Cr รายได้เงินเหลือจ่ายปีเก่า 4206010102.101 รพช. Cr เงินรับฝากรายได้แผ่นดินอื่น 2111020199.103

รพช.โอนเงินเหลือจ่ายปีเก่าให้ สสจ. เพื่อส่งเป็นรายได้แผ่นดิน Dr เงินรับฝากรายได้แผ่นดินอื่น 2111020199.103 Cr เงินฝากธนาคาร-เงินอุดหนุนบุคคลที่มีปัญหาสถานะ และสิทธิ 1101030102.101

สสจ. ได้รับเงินที่รพช. โอนเงินเหลือจ่ายปีเก่า ให้ สสจ สสจ.ได้รับเงินที่รพช.โอนเงินเหลือจ่ายปีเก่า ให้ สสจ. เพื่อส่งเป็นรายได้แผ่นดิน Dr เงินฝากธนาคาร-เงินอุดหนุนบุคคลที่มีปัญหาสถานะ และสิทธิ 1101030102.101 Cr เงินรับฝากรายได้แผ่นดินอื่น 2111020199.103

สสจ. นำส่งรายได้แผ่นดิน Dr เงินรับฝากรายได้แผ่นดินอื่น (เงินเหลือจ่ายส่วนของ รพช) 2111020199.103 Dr รายได้แผ่นดินนำส่งคลัง (ดอกเบี้ยส่วนของ รพช) 5210010103.101 Cr เงินฝากธนาคาร-เงินอุดหนุนบุคคลที่มีปัญหาสถานะ และสิทธิ 1101030102.102

รพศ./ รพท./ นำส่งรายได้แผ่นดิน Dr รายได้แผ่นดินนำส่งคลัง 5210010103.101 Cr เงินฝากธนาคาร-เงินอุดหนุนบุคคลที่มีปัญหาสถานะ และสิทธิ 1101030102.101

กรณีผู้ป่วยบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ ที่ขึ้นทะเบียนมารับบริการ รพศ./ รพท./ รพช./ ไม่ต้องบันทึกบัญชี แต่ให้เก็บข้อมูลการให้บริการเพื่อส่งรายงานให้ส่วนกลาง

กรอบการบันทึกบัญชีเกณฑ์คงค้าง ประเภทเงินจ่ายตรงกรมบัญชีกลาง ปีงบประมาณ 2558

กรมบัญชีกลาง สสจ รพศ./รพท สสอ รพช รพ.สต. เงินงบประมาณ เงินงบประมาณ เงินที่เบิกจ่ายจากกรมบัญชีกลางผ่านระบบ GFMIS ซึ่งปัจจุบันมีเพียง สสจ. กับ รพท./รพศ. ที่เป็นหน่วยเบิกจ่ายเท่านั้น กรมบัญชีกลาง สสจ รพศ./รพท สสอ รพช รพ.สต.

รหัสจากกรมบัญชีกลางสำหรับเงินเดือนจ่ายตรง งบบุคลากร เงินเดือน ค่าจ้างประจำ งบสก.110 เงินประจำตำแหน่งบริหารระดับสูง – ผอก งบสก.120 เงินประจำตำแหน่งชำนาญการ-ชำนาญการพิเศษ 5,600/3,500 งบสก.130 เงินประจำตำแหน่งเชี่ยวชาญ 9,900 ตข-8-8 ว เงินค่าตอบแทนชำนาญพิเศษที่ไม่ใช่วิชาชีพ 3,500 ตขท.ปจต. เงินตอบแทนรายเดือนสำหรับข้าราชการเท่ากับเงิน ประจำตำแหน่ง ตดจ. เงินตอบแทนรายเดือนสำหรับลูกจ้างประจำ (เงินติดดาว) ตดข1-7 เงินค่าตอบแทนรายเดือนสำหรับข้าราชการ1-7

รหัสจากกรมบัญชีกลางสำหรับเงินเดือนจ่ายตรง งบดำเนินงาน ต.พ.ข. ว 319 เงินตอบแทนพิเศษของข้าราชการผู้ได้รับ เงินเดือนถึงขั้นสูงสุดของอันดับ ต.พ.จ. ว 319 เงินตอบแทนพิเศษของลูกจ้างประจำ ผู้ได้รับค่าจ้างถึงขั้นสูงสุดของอันดับ

ประเภทเงินงบประมาณ งบรายจ่ายส่วนราชการ งบบุคลากร เช่น เงินเดือน /เงินประจำตำแหน่ง/ค่าจ้างประจำ/เงินติดดาว/ค่าตอบแทนพนักงานราชการ (เงินเดือน) งบดำเนินงาน เช่นค่าเช่าบ้าน/ค่าตอบแทน พตส./หมวดค่าตอบแทน ค่าใช้สอย ค่าวัสดุ/ค่าตอบแทนเต็มขั้น งบลงทุน เช่นค่าครุภัณฑ์/ค่าสิ่งก่อสร้าง งบอุดหนุน เช่น เงินอุดหนุนผู้มีปัญหาสถานะและสิทธิ งบรายจ่ายอื่น เช่น เงินค่าปรับที่จ่ายคืนให้แก่ผู้ขายหรือผู้รับจ้าง/ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการต่างประเทศชั่วคราว งบกลาง เช่นค่ารักษาพยาบาล/เงินช่วยเหลือบุตร/กบข/กสจ

ข้อควรสังเกตของเงินงบประมาณ สิ้นเดือนจะต้องตรวจสอบ รายได้เงินงบประมาณงบบุคลากร = ค่าใช้จ่ายเงินงบประมาณบุคลากร กรณีที่จ่ายไม่ได้ภายในเดือนให้บันทึก Dr ค่าใช้จ่ายตามประเภท Cr รายได้งบประมาณบุคลากร UC (4307010103.201) Dr รายได้ค้างรับ Cr ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย รายได้เงินงบประมาณ ค่าใช้จ่ายเงินงบประมาณ

ข้อควรสังเกตของเงินงบประมาณ กรณีกรมบัญชีกลางโอนเงินเข้าบัญชีเจ้าหน้าที่โดยตรง การบันทึกบัญชี Dr ค่าใช้จ่ายตามประเภท(เงินเดือน/ ค่าจ้างประจำ/ตำแหน่ง) Cr รายได้งบประมาณบุคลากร UC 4307010103.201 Dr ค่าใช้จ่ายตามประเภท (เงินตอบแทนเต็มขั้น ขรจ/ลูกจ้างประจำ) Cr รายได้งบประมาณงบดำเนินการ 4307010105.101 Dr ค่าใช้จ่ายตามประเภท (กบข / กสจ) Cr รายได้งบประมาณกลาง 4307010108.101

ข้อควรสังเกตของเงินงบประมาณ กรณี สสจ.เบิกจ่ายเงินให้ รพช./รพ.สต การบันทึกบัญชี การรับเงิน Dr เงินฝากธนาคาร- ในงบประมาณ 1101020603.101 Cr รายได้งบประมาณบุคลากร UC 4307010103.201 การจ่ายเงิน Dr ค่าใช้จ่ายตามประเภท(เงินเดือน/ ค่าจ้างประจำ/ตำแหน่ง) Cr เงินฝากธนาคาร- ในงบประมาณ 1101020603.101

ข้อควรสังเกตของเงินงบประมาณ กรณี สสจ.เบิกจ่ายเงินให้ รพช./รพ.สต การบันทึกบัญชี การรับเงิน Dr เงินฝากธนาคาร- ในงบประมาณ 1101020603.101 Cr รายได้อื่น-เงินงบประมาณงบดำเนินงานรับโอนจาก สสจ./รพศ./รพท./รพช. / รพ.สต. 4313010199.119 การจ่ายเงิน Dr ค่าใช้จ่ายตามประเภท (เงินตอบแทนเต็มขั้น ขรจ/ ลูกจ้างประจำ หมวดงบดำเนินงาน) Cr เงินฝากธนาคาร- ในงบประมาณ 1101020603.101

ข้อควรสังเกตของเงินงบประมาณ กรณี สสจ.เบิกจ่ายเงินให้ รพช./รพ.สต การบันทึกบัญชี การรับเงิน Dr เงินฝากธนาคาร- ในงบประมาณ 1101020603.101 Cr รายได้อื่น-เงินงบประมาณงบกลางรับโอนจาก สสจ./รพศ. /รพท./รพช. /รพ.สต. 4313010199.122 การจ่ายเงิน Dr ค่าใช้จ่ายตามประเภท (ค่ารักษาพยาบาล / ค่าเล่าเรียน) Cr เงินฝากธนาคาร- ในงบประมาณ 1101020603.101

ข้อควรสังเกตของเงินงบประมาณ กรณี สสจ.เบิกจ่ายเงินงบประมาณแทนกันให้ รพศ./รพท การบันทึกบัญชี การรับเงิน Dr เงินฝากธนาคาร- ในงบประมาณ 1101020603.101 Cr รายได้ระหว่างกัน-เงินงบประมาณ รับโอนจาก สสจ./ รพศ./รพท. 4308010118.105 การจ่ายเงิน Dr ค่าใช้จ่ายตามประเภท(หมวด5) Cr เงินฝากธนาคาร- ในงบประมาณ 1101020603.101