งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การดำเนินงานกลุ่มบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ จังหวัดเชียงใหม่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การดำเนินงานกลุ่มบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ จังหวัดเชียงใหม่"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การดำเนินงานกลุ่มบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ จังหวัดเชียงใหม่

2 การดำเนินงานในกลุ่มบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ
กลุ่มเป้าหมายคือ กลุ่มที่มีบัตรประจำตัวขึ้นต้นด้วย เลข 3,4,5,8 - ประเภททะเบียนราษฎร์ ทร.14 กลุ่มที่มีบัตรประจำตัวขึ้นต้นด้วย เลข 6,7 ประเภททะเบียนราษฎร์ ทร.13 กลุ่ม นักเรียนในสถานศึกษาที่รับสวัสดิการจากรัฐบาลด้านการศึกษา / ไร้รากเหง้า / คนที่ทำประโยชน์ บัตรขึ้นต้นด้วยเลข 0 ประเภท ทะเบียนราษฎร์ ทร.38 ก(ข)

3 กลุ่มเป้าหมาย เพิ่มกลุ่มเป้าหมายเลข 0 กลุ่มบุคคลที่ได้รับการสำรวจจัดทำทะเบียนประวัติและบัตรประจำตัวบุคคลผู้ไม่มีสถานะทางทะเบียนภายใต้ยุทธศาสตร์การจัดการปัญหาสถานะและสิทธิของบุคคลเป็นชนกลุ่มน้อยและกลุ่มชาติพันธ์ที่เข้ามาอยู่ในประเทศไทยเป็นเวลานานและตกสำรวจและบุตรประเภท 0(0xxxx00xxx xx x)

4 การดำเนินเชิงรุกในพื้นที่ กรณี การลงทะเบียนสิทธิ
ประชาสัมพันธ์วิทยุชุมชน/ปากต่อปาก การเตรียมการ ประสานงาน สสอ.รพ.สต./ อสม ทำหนังสือ/โรงเรียน/สำรวจนักเรียน

5 การดำเนินเชิงรุกในพื้นที่ กรณี การลงทะเบียนสิทธิ(ต่อ)
รพ.สต. ผู้มีสิทธิ สป.สธ โรงพยาบาล

6 หลักฐานการลงทะเบียนบัตร
แบบคำร้องขอลงทะเบียน บัตรประจำตัว หรือ บัตรที่ทางราชการออกให้ที่มีเลขประจำตัวและรูปถ่ายติดอยู่ สำเนาสูติบัตร(กรณีอายุต่ำกว่า 15 ปี) สำเนาทะเบียนบ้านที่ผู้ขอลงทะเบียนมีชื่ออยู่ ได้แก่ ทร.13,ทร.14,ทร.38กหรือทร.38ข โดยใช้ฐานข้อมูลทะเบียนราษฎร์ กรมการปกครอง มหาดไทย ซึ่งจะขึ้นทะเบียนให้ตามที่อยู่ในสำเนาทะเบียนบ้าน

7 หน่วยบริการที่รับลงทะเบียนและหน่วยบริการประจำ
หน่วยบริการที่รับลงทะเบียน ได้แก่โรงพยาบาลนครพิงค์และโรงพยาบาลชุมชนทุกแห่ง ให้ผู้มีสิทธิ ลงทะเบียนที่โรงพยาบาลประจำอำเภอตามที่อยู่ในสำเนาทะเบียนบ้านเท่านั้น ยกเว้น กรณีมารับบริการครั้งแรกและยังไม่มีสิทธิใดๆหน่วยบริการที่รับรักษาสามารถลงทะเบียนแทนได้โดยรพ.หลักเป็นรพ.ประจำอำเภอที่อยู่ตามทะเบียนบ้าน

8 สำเนาสูติบัตร (กรณีอายุต่ำกว่า 15 ปี)
การเข้ารับบริการรักษาพยาบาล บัตรประจำตัว หรือบัตรที่ทางราชการออกให้ที่มีเลขบัตรประจำตัวและมีรูปถ่ายติดอยู่ สำเนาสูติบัตร (กรณีอายุต่ำกว่า 15 ปี)

9 หลักเกณฑ์การใช้บริการด้านสาธารณสุข
สามารถ เข้ารับบริการได้ที่ โรงพยาบาลประจำที่ระบุในบัตร และสามารถเข้ารับบริการที่โรงพยาบาลอื่นที่สังกัดกระทรวงสาธารณสุขภายในจังหวัดได้โดยไม่ต้องมีใบส่งตัวจากโรงพยาบาลประจำ กรณีที่เข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลเอกชนผู้ป่วยต้องจ่ายค่ารักษาพยาบาลเอง ทุกกรณี การใช้บริการข้ามจังหวัด กรณีอุบัติเหตุฉุกเฉินไม่ต้องมีใบอนุญาตออกนอกพื้นที่ กรณีปกติต้องมีใบอนุญาตออกนอกพื้นที่ หรือกรณีส่งตัวไปรักษาต่อต้องมีใบส่งตัวจาก โรงพยาบาลประจำ

10 การใช้บริการสาธารณสุขในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่
บัตรเดียวใช้บริการในสถานบริการของรัฐได้ทุกที่ ทั่วถึงทุกคน

11 สิทธิประโยชน์ ยกเว้น กรณีโครงการพิเศษอื่นๆยังไม่ครอบคลุมการให้บริการ
ขั้นพื้นฐานเหมือนบัตรประกันสุขภาพถ้วนหน้าและกรณีไตวาย ผู้ติดเชื้อเอชไอวี ผู้ป่วยเอดส์และผู้ป่วยวัณโรค และผู้ป่วยใช้ยา จ.2 ยกเว้น กรณีโครงการพิเศษอื่นๆยังไม่ครอบคลุมการให้บริการ

12 จังหวัดเชียงใหม่เป็นClearing House
แนวทางการดำเนินงาน ด้านการบริหารจัดการ จังหวัดเชียงใหม่เป็นClearing House กันเงิน 10% งบประมาณ กำหนดอัตราการเรียก เก็บภายในจังหวัด OP/PP_Refer ภายในจังหวัด OP Refer ต่างจังหวัด OP AE ภายในจังหวัด

13 แนวทางการดำเนินงาน (ต่อ)
การจัดการข้อมูล การลงทะเบียนสิทธิ การเรียกเก็บเงินชดเชยค่าบริการทางการแพทย์ เชิงระบบ เชิงรุก

14 การส่งข้อมูลเรียกเก็บ
เรียกเก็บ สสจชม. ผู้ป่วยนอกต่างหน่วยบริการ ผู้ป่วยนอกส่งต่อทั้งในและนอกจังหวัด ผู้ป่วยนอก AE ในจังหวัด

15 เรียกเก็บกระทรวงฯ ผู้ป่วยในทุกกรณี ผู้ป่วยนอกAE ต่างจังหวัด
การใช้อวัยวะเทียมหรืออุปกรณ์ในการบำบัดโรค(Istrument) การตรวจวินิจฉัยราคาแพง และการทำหัตถการหัวใจ ภายใน 30 วันผู้ป่วยในนับจากวันDischarge ผู้ป่วยนอกนับจากวันที่ให้บริการ

16 การตรวจสอบสิทธิ ตรวจสอบสิทธิผ่านทางเว็บไซต์ http://state.cfo.in.th
Username: ใช้รหัสสถานบริการ Password: ตามด้วยรหัสสถานบริการ

17 ติดต่อสอบถามได้ที่ กลุ่มงานประกันสุขภาพสำนักงานสาธารณสุข จังหวัดเชียงใหม่ ต่อ 109 ( ถนอมศรี แจ่มไทย ผู้รับผิดชอบงานต่างด้าว)

18 จบการนำเสนอ สวัสดีค่ะ


ดาวน์โหลด ppt การดำเนินงานกลุ่มบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ จังหวัดเชียงใหม่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google