โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย ปี 2557
การดำเนินงานภายใต้แผนยุทธศาสตร์อนามัย สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ – 2559) ประเด็นยุทธศาสตร์ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและ ตัวชี้วัดสำคัญ ส่งเสริมการดำเนินงานตาม พ.ร.บ.การสาธารณสุข พ.ศ โครงการเมืองไทย เมืองสะอาด นโยบายสำคัญรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง สาธารณสุข (นายสรวงศ์ เทียนทอง) ประเด็นสำคัญการดำเนินงานอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี 2557
7 ประเด็นงาน 1. คุณภาพอากาศ 2. น้ำ การสุขาภิบาลและสุขอนามัย 3. ขยะและของเสียอันตราย 4. สารเคมีเป็นพิษและสารอันตราย 5. การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ 6. การจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมในกรณีสาธารณภัย 7. การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ 5 ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อน 1. พัฒนาระบบบริหารจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม 2. ป้องกันและลดความเสี่ยงจากปัจจัยด้านอนามัย สิ่งแวดล้อม 3. เสริมสร้างความร่วมมือระหว่างหน่วยงานภาคี เครือข่ายและการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน และ ประชาชนในการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม 4. ส่งเสริมบทบาท อปท. ในการจัดการอนามัย สิ่งแวดล้อม 5. พัฒนาองค์ความรู้และเทคโนโลยีด้านอนามัย สิ่งแวดล้อม 1. แผนยุทธศาสตร์อนามัยสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2555–2559
2. ประเด็นยุทธศาสตร์อนามัยสิ่งแวดล้อม 3 ยุทธศาสตร์ 1. การคุ้มครองสิทธิด้านสุขภาพ ของประชาชน 2. ลดความเสี่ยงด้านอนามัย สิ่งแวดล้อมจากการจัดบริการ 3. พัฒนาสุขาภิบาลอย่างยั่งยืน สู่วิถีพอเพียง เป้าประสงค์ ประชาชนมีข้อมูลเพียงพอ ได้รับการเตือนภัยถูกต้อง ทันเวลา และได้รับบริการที่ได้ มาตรฐานและเป็นธรรม เป้าประสงค์ อปท. มีการจัดบริการด้าน อนามัยสิ่งแวดล้อม ที่มีคุณภาพ และมาตรฐาน เป้าประสงค์ ชุมชนและท้องถิ่นสามารถ จัดการสุขาภิบาลได้อย่างถูก หลักวิชาการ และพึ่งตนเองได้ ประเด็นงาน พัฒนาระบบเฝ้าระวัง การสื่อสาร ความเสื่ยง กำกับ ติดตาม อปท. วิเคราะห์สถานการณ์อนามัย สิ่งแวดล้อม HIA ประเด็นงาน พัฒนาคุณภาพของ อปท. เรื่อง จัดบริการด้านอนามัย สิ่งแวดล้อม ประเด็นงาน การใช้ประโยชน์จากของเสีย อาทิ สิ่งปฏิกูล มูลฝอย ตัวชี้วัด 1. ทุกจังหวัดมีระบบและกลไก การจัดการอนามัย สิ่งแวดล้อมเพื่อตอบโต้ภาวะ ฉุกเฉิน (มีทีม SERT มีแผน และซ้อมแผน สื่อสารฯ) 2. รายงานสถานการณ์อนามัย สิ่งแวดล้อม (ระดับประเทศ ระดับเขต ระดับจังหวัด) ตัวชี้วัด 1. ร้อยละ 40 ของ อปท. มี คุณภาพด้านบริการอนามัย สิ่งแวดล้อม (อาหาร น้ำ ขยะ สิ่งปฏิกูล) 2. ทุกจังหวัดมีตลาดนัดน่าซื้อ ต้นแบบ 3. ร้อยละ 80 ของส้วม สาธารณะผ่าน HAS ตัวชี้วัด 1. ร้อยละ 80 ของขยะติดเชื้อ ได้รับการจัดการถูก สุขลักษณะ 2. ร้อยละ 30 ของ รพ.สธ. ได้มาตรฐานด้านอนามัย สิ่งแวดล้อม (อาหาร น้ำ ขยะ สิ่งปฏิกูล) 3. ศูนย์เรียนรู้ด้านสุขาภิบาล ยั่งยืน 12 แห่ง
ผลักดันการพัฒนาระบบและกลไกการดำเนินงานตามกฎหมายสาธารณสุข เช่น การแต่งตั้งคณะกรรมการสาธารณสุขระดับจังหวัด ใน 30 จังหวัด ที่มีความพร้อม เพื่อให้เป็นที่ปรึกษาของ อปท. สนับสนุนและเสริมสร้างขีดความสามารถ และทักษะแก่บุคลากร อปท. ผลักดันการออกกฎหมาย เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งการดำเนินงาน ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมให้ท้องถิ่น เช่น ร่างประกาศฯ เกี่ยวกับการขน กำจัด มูลฝอยติดเชื้อในท้องถิ่น สุขลักษณะส้วมในร้านอาหาร ปั๊มน้ำมัน/ก๊าซ เพื่อคุ้มครองประชาชน ชุมชน ผู้ประกอบกิจการ ให้ได้อยู่ใน สภาวะความเป็นอยู่ที่เหมาะสมกับการดำรงชีพ ตามที่รัฐธรรมนูญกำหนด 3. ส่งเสริมการดำเนินงานตาม พ.ร.บ.การสาธารณสุข พ.ศ. 2535
ยกระดับคุณภาพการให้บริการอนามัยสิ่งแวดล้อมขององค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นให้ได้มาตรฐาน ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมให้ได้มาตรฐาน สร้างความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายในการดำเนินงานอนามัยสิ่งแวดล้อม ส่งเสริมการพัฒนาระบบกฎหมายในระดับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ส้วมสาธารณะและสิ่งปฏิกูล อาหารสะอาด (ลดความเสี่ยงจากการบริการ) คุณภาพน้ำดื่มได้มาตรฐาน มูลฝอยทั่วไป มูลฝอยติดเชื้อ เมืองสะอาด 4. โครงการเมืองไทย เมืองสะอาด (Clean Cities)
โครงการปั๊มน้ำมันโสภา-สุขาน่าเข้า โครงการตลาดสะอาด อาหารปลอดภัย 5. นโยบายสำคัญของรัฐมนตรีช่วยว่าการ กระทรวงสาธารณสุข (นายสรวงศ์ เทียนทอง) ณ วันที่ 5 สิงหาคม 2556
“ส่งเสริมและร่วมใจ ทำเมืองไทยให้สะอาด” โครงการเมืองไทย เมืองสะอาด