แผนการตรวจรับรอง สถานที่ทำงานน่าอยู่ น่า ทำงาน โดยศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี วันเวลาหน่วยงานทีมประเมิน 11 กค.59 เช้า - รพท. นภ. บ่าย สสอ. เมือง ศูนย์อนามัย ที่ 8 12 กค.59 เช้า - รพ. ศรีบุญเรืองบ่าย สสอ. ศรีบุญเรือง ศูนย์อนามัย ที่ 8 13 กค.59 เช้า - รพ. นากลาง บ่าย สสอ. นากลาง ศูนย์อนามัย ที่ 8 14 กค.59 เช้า - รพ. สุวรรณคูหา บ่าย สสอ. สุวรรณคูหา ศูนย์อนามัย ที่ 8 15 กค.59 เช้า - รพ. โนนสัง บ่าย สสอ. โนนสัง ศูนย์อนามัย ที่ 8 21 กค.59 เช้า - รพ. นาวัง บ่าย สสอ. นาวัง ศูนย์อนามัย ที่ 8 22 กค.59 เช้า - สสจ. หนองบัวลำภูศูนย์อนามัย ที่ 8
เกณฑ์การประเมิน สถานที่ ทำงานน่าอยู่ น่าทำงาน ประกอบด้วย 2 ส่วน ส่วนที่ 1 : การสนับสนุนขององค์กรและการมีส่วน ร่วมของผู้ปฏิบัติงาน (4 ข้อ ) ส่วนที่ 2 : เกณฑ์ สะอาด 11 ข้อ ปลอดภัย 12 ข้อ สิ่งแวดล้อมดี 9 ข้อ มีชีวิตชีวา แบ่งเป็น 3 ระดับ พื้นฐาน (5 ข้อ ) ระดับ ดี (2 ข้อ ) ระดับ ดีมาก (7 ข้อ ) สถานที่ทำงานน่าอยู่ น่าทำงาน ดีเด่น
ระดับการรับรอง ระดับเกณฑ์ การ สนับ สนุน (4 ข้อ ) สะอา ด (11 ข้อ ) ปลอด ภัย (12 ข้อ ) สิ่ง แวด ล้อมดี (9 ข้อ ) มีชีวิต ชีวา (14 ข้อ ) รวม พื้นฐาน ดี ดีมาก หมายเหตุ - ระดับดีเด่น ต้องผ่านเกณฑ์ระดับดี มาก ติดต่อกัน 5 ปี
ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม จากคณะกรรมการ 1. ด้านความสะอาด 1. ห้องเก็บของ ควรสะอาด เป็นระเบียบ จัดเป็นหมวดหมู่ 2. ห้องน้ำ ห้องส้วม ควรซ่อมก๊อกน้ำ จัดหาสบู่ล้างมือให้พร้อมใช้งาน จัดหาสบู่ล้างมือให้พร้อมใช้งาน 3. ประตู ที่จับเปิดปิด และที่ล็อคด้านใน ควรอยู่ในสภาพดี ใช้งานได้ 4. ถ้ามีร้านจำหน่ายอาหาร ต้องปรับปรุง ให้ได้มาตรฐาน (CFGT) 2. ด้านปลอดภัย 1. ควรติดตั้งสายดินเพื่อป้องกันไฟ ดูด 2. สายไฟแรงสูงนอกอาคาร ไม่ ควรมีต้นไม้พาดผ่าน 3. สวิตช์ไฟ สายไฟ ต้องอยู่ใน สภาพดี และปลอดภัย 4. ติดตั้ง อุปกรณ์ตัดไฟ เพื่อรองรับ กรณีเกิดไฟช็อต / รั่ว 5. ตรวจสอบ เครื่องดับเพลิงให้ พร้อมใช้งาน 3. ด้านสิ่งแวดล้อมดี 1. ซ่อมหลอดไฟ บางจุดที่ชำรุด ให้พร้อม ใช้งาน 2. ลอกร่องระบายน้ำรอบอาคาร 3. เฝ้าระวังและตรวจสอบระบบการจัดการ ( สารเคมี, ขยะ, น้ำเสียสิ่ง ปฎิกูล ) อย่างสม่ำเสมอ ไม่สร้างความ เดือดร้อนรำคาญต่อชุมชน 4. ด้านมีชีวิตชีวา 1. ควรจัดตั้งกลุ่มแกนนำ หรือชมรมสร้าง เสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมให้ ชัดเจน พร้อมจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง 2. ควรมีการบันทึก ผลการตรวจสุขภาพ ประจำปี รายบุคคล 3. ควรมีการบันทึก ผลการประเมิน ความเครียดรายบุคคล ข้อเสนอจากโรงพยาบาล / สสอ. 1. จังหวัดควรมีงบประมาณ HWP สนับสนุน สสอ. ทุกแห่ง 2. จังหวัดควรมีการพัฒนาคนทำงาน กก.ENV อย่างต่อเนื่อง ( เช่น ศึกษาดู งาน ) 3. จังหวัดควรประสานให้โรงพยาบาลอุดร ให้มาตรวจสุขภาพเจ้าหน้าที่ ตามความเสี่ยงที่ผู้ปฏิบัติงานสัมผัส ( เช่น ตา, หู, ปอด ) 4. จังหวัดควรประสาน ททท. หนองบัวลำภู ให้มาทดสอบ / ประเมิน สมรรถภาพร่างกาย เกี่ยวกับหัวใจ ปอด กล้ามเนื้อ