งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บทที่ 4 การดูแลให้ได้รับการพักผ่อนและความปลอดภัย การจัดการสิ่งแวดล้อม การทำเตียง อ.กรวรรณ สุวรรณสาร.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บทที่ 4 การดูแลให้ได้รับการพักผ่อนและความปลอดภัย การจัดการสิ่งแวดล้อม การทำเตียง อ.กรวรรณ สุวรรณสาร."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บทที่ 4 การดูแลให้ได้รับการพักผ่อนและความปลอดภัย การจัดการสิ่งแวดล้อม การทำเตียง
อ.กรวรรณ สุวรรณสาร

2 ปัจจัยที่มีผลต่อการพักผ่อน
อายุ - แรงจูงใจ แสงสว่าง - กิจกรรม สิ่งแวดล้อม - ความเครียด อารมณ์ อาหาร - ความเจ็บป่วย ยา

3 การพยาบาลเพื่อส่งเสริมการพักผ่อน
สิ่งแวดล้อม: เสียง กลิ่น แสง การกำหนดเวลาเยี่ยมและจำกัดจำนวนผู้เข้าเยี่ยม การถ่ายเทของอากาศ อุณหภูมิ การกำจัดแมลง ยุง มด ช่วงเวลาการจัดกิจกรรมการพยาบาล บรรเทาอาการที่เกิดจากความเจ็บป่วย

4 การพยาบาลเพื่อส่งเสริมการพักผ่อน
พฤติกรรมการใช้ชีวิตประจำวัน : แบบแผนการนอนหลับ การออกกำลังกาย การดูแลเรื่องอาหาร อารมณ์และจิตใจ ความสุขสบาย และความรู้สึกผ่อนคลาย ดูแลให้ยานอนหลับ ตามแผนการรักษา

5 การดูแลให้ได้รับความปลอดภัย
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัย ระดับพัฒนาการตามช่วงอายุ ความบกพร่องด้านประสาทสัมผัส สภาพร่างกาย ระดับความรู้สึกตัว ผลจากการรับประทานยา อุปกรณ์ช่วยเดิน

6 การพยาบาลเพื่อตอบสนองความต้องการ ด้านความปลอดภัย
ความปลอดภัยในด้านความต้องการพื้นฐานของมนุษย์ :อากาศ อาหาร น้ำ อุณหภูมิ ความชื้น ความปลอดภัยจากการติดเชื้อโรค ความปลอดภัยจากการพลัดตกหกล้ม ความปลอดภัยจากการให้การพยาบาล การทำหัตถการ ความปลอดภัยจากการใช้เครื่องมือ การใช้เครื่องผูกยึด (restrain)

7 การจัดการสิ่งแวดล้อม
1. อุปกรณ์เครื่องใช้อยู่ในสภาพดี พร้อมใช้งาน มีความปลอดภัย 2. สิ่งแวดล้อม เป็นระเบียบ สวยงาม ทำลายเชื้อและกำจัดขยะอย่างถูกวิธี อุณหภูมิที่เหมาะกับการพักผ่อน 4. แสงสว่างพอเหมาะ 5. การถ่ายเทอากาศที่ดี 6. ไม่มีเสียงรบกวนการพักผ่อน 7. กำจัดกลิ่นที่รบกวนผู้ป่วย 8. สภาพแวดล้อมมิดชิด มีความเป็นส่วนตัว

8 การทำเตียง 1. หลักการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
1. หลักการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ 1.1 เก็บผ้าโดยม้วนด้านที่สัมผัสกับผู้ป่วยไว้ด้านใน 1.2 ห้ามสะบัดผ้า 1.3 ไม่นำผ้าไปวางบนเตียงอื่น ไม่วางผ้าที่ใช้แล้วบนเตียงผู้ป่วย 1.4 ไม่วางผ้าบนพื้น 1.5 ทำความสะอาดจากบริเวณที่สกปรกน้อยมาที่สกปรกมาก 1.6 เตียงผู้ป่วยด้วยโรคติดต่อเช็ดด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อ 1.7 ล้างมือให้สะอาดและเช็ดให้แห้งทุกครั้งก่อนและหลังสัมผัสกับผู้ป่วย หรือของใช้ผู้ป่วย รวมถึงการใช้เครื่องป้องกันที่เหมาะสม 1.8 ระมัดระวังไม่ให้มือสัมผัสหน้าตาหรือร่างกาย 1.9 ไม่ให้ผ้าสกปรกมาสัมผัสชุดพยาบาล 1.10 เปลี่ยนผ้าปูที่นอนทุกเช้าหลังผู้ป่วยอาบน้ำเสร็จ/เปียก/สกปรก 1.11 สำรวจความสะอาด เรียบร้อยของเตียงในระหว่างวัน

9 การทำเตียง 2. หลีกเลี่ยงการเกิดอุบัติเหตุต่อตัวผู้ป่วย 3. ประหยัดเวลาและพลังงาน 4. คำนึงถึงความเป็นบุคคลของผู้ป่วย 5. หลีกเลี่ยงการเกิดอุบัติเหตุต่อตัวพยาบาล 6. ตรวจสอบความเรียบร้อยของการทำเตียง 7. การปฏิบัติกับผ้าที่ใช้แล้วอย่างเหมาะสม

10 การทำเตียง 4 ประเภท การทำเตียงว่าง (closed bed/ ordinary bed)
การทำเตียงที่ผู้ป่วยสามารถลุกออกจากเตียงได้ (open bed) การทำเตียงที่มีผู้ป่วยนอนอยู่ (occupied bed) การทำเตียงรอรับผู้ป่วยดมยาสลบ (ether bed/ anesthetic bed)

11 วิธีปฏิบัติการทำเตียง
การเตรียม 1. ประเมินความสามารถในการช่วยเหลือตนเองของผู้ป่วย 2. ตรวจสอบคำสั่งการรักษาที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมการพยาบาล 3. ล้างมือให้สะอาดและเช็ดให้แห้ง 4. จัดเตรียมเครื่องใช้ให้ครบ 5. จัดสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสม 6. นำราวกั้นเตียงด้านเดียวกับพยาบาลลง

12 การพับมุมผ้าปูเตียง 1 2 3

13 การทำเตียงที่ผู้ป่วยสามารถลุกออกจากเตียงได้ (open bed
การปูเตียงทีละด้าน

14 การทำเตียงที่มีผู้ป่วยนอนอยู่ (occupied bed)

15 การทำเตียงว่าง (closed bed/ ordinary bed)

16 การทำเตียงรอรับผู้ป่วยดมยาสลบ (ether bed/ anesthetic bed)

17 จบการนำเสนอบทที่ 4 นักศึกษาสามารถศึกษาเพิ่มเติมได้จากเอกสารประกอบการสอน และหนังสือตามที่ปรากฏรายชื่ออยู่ในบรรณานุกรมท้ายบทที่ 4


ดาวน์โหลด ppt บทที่ 4 การดูแลให้ได้รับการพักผ่อนและความปลอดภัย การจัดการสิ่งแวดล้อม การทำเตียง อ.กรวรรณ สุวรรณสาร.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google