การพัฒนาทักษะการใช้เลื่อยมือตัดชิ้นงาน โดยใช้ชุดฝึกทักษะ วิชางานฝึกฝีมือ 1 ของนักเรียนช่างยนต์ สาขางานยานยนต์ ชั้นปีที่ 1 คณะช่างอุตสาหกรรม วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผู้เสนอ นางประภัสสร แก้วประสาน สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
Advertisements

การใช้ชุดการสอนวิชาบัญชีเบื้องต้น 2 เรื่องการปรับปรุงบัญชี ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาพณิชยการ และการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
พัฒนศักดิ์ จิณะวงค์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
การสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศของ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสม นางสาวพัชรี นาคทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
ผู้วิจัย : นายสุพัฒน์ กลัดสมบุญ
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษ โดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Brain- Based Learning ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3/1 สาขาการขาย.
รายงานการวิจัย เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรูปแบบการจำลอง การอ่านค่าเวอร์เนียคาลิปเปอร์ วิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น ระดับชั้น ปวช.1.
วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ในรายวิชาการบัญชีเบื้องต้น 2 โดยใช้ชุดฝึกปฏิบัติเพื่อพัฒนา ผลสัมฤทธิ์ ผู้วิจัย ถาวร ประรงค์ทอง.
นางสาวปุณณภา ฉัตรเดชาพล
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
ปี 2 ห้อง 1 โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี ”
การศึกษาผลการเรียนรู้ด้านการพิมพ์ไทยด้วย คอมพิวเตอร์ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปี ที่ 1 แผนกบริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี The education.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
โดย นางสาวนิภาพร เถาคำแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค.)
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์วิชางานฝึกฝีมือ เรื่องงานร่างแบบด้วยมือโดยใช้ชุดฝึกทักษะ ของ นักเรียนระดับชั้น ปวช.1 แผนกช่างอุตสาหกรรม ปีการศึกษา.
ชื่อผู้วิจัย นายสรรเพชญ สุขสวัสดิ์ สถาบัน วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)


นางบัววิไล แก้วอู๋ ผู้วิจัย
นางสาวรัฏฐภรณ์ เหล็กไหล
การพัฒนาทักษะการคำนวณเรื่องระบบเลขฐาน โดยใช้แบบฝึกทักษะของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นสูง ชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีพาณิชยการลานนา.
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ชื่อเรื่อง ผลการใช้เทคนิคการเรียนแบบร่วมมือที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ของการเรียนวิชางานวัดละเอียดช่างยนต์ของนักศึกษาชั้น ปวช.2 สาขางานยานยนต์ โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษ ของ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2 โดยใช้สถานการณ์จำลอง กิติพร โกมลารชุน.
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจกลุ่ม 821
นางปัจณี บุญส่งสวัสดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลพณิชยการ
วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน

กิตติญา ยังเจริญ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ ความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
นายหิรัญญพงษ์ โอวัฒนา โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
โดย อาจารย์ วิลาวัณย์ ลีลารัตน์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 ที่เรียน จากการจัดกิจกรรมการเรียน โดยใช้การจัดลำดับ.
ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 ที่เรียน จากการจัดกิจกรรมการเรียน โดยใช้การจัดลำดับ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
การพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบ รายบุคคลทางการคำนวณและ การใช้สูตรฟังชั่นอย่างง่ายโดย โปรแกรม Microsoft Excel ในวิชาคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ เพื่องานอาชีพ ผู้วิจัย.
ประชิด เกิดมาก ผู้วิจัย. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาสภาพการจัดการเรียน การสอนด้วยจิกซอว์ 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนก่อนเรียน.
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชาการจัดเก็บเอกสารของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 ที่ใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบ ร่วมมือ เทคนิคจิ๊กซอว์กับการสอนแบบปกติ
วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษร บริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษร บริหารธุรกิจ จังหวัดระยอง จังหวัดระยอง ชื่อผู้วิจัย / สถาบัน นายวัชรพล พรมโคตร.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง การพัฒนาสื่อการสอนเรื่องวงกลม โดยใช้ โปรแกรม The Geometer’ s Sketchpad (GSP) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/2 ผู้วิจัย นางสาวอังสนา อุตมูล.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น โดยใช้รูปแบบการ
วัตถุประสงค์การวิจัย
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลศรีย่าน
ทำการวิจัยโดย นางรุ่งนภา ทินช่วย
ชื่อผู้วิจัย นางสาวศุวรีย์ จำปามูล
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาความสามารถด้านการพูดนำเสนอโปรแกรมท่องเที่ยวโดยใช้การสอนแบบบทบาทสมมุติ วิชาการตลาดเพื่อการท่องเที่ยวของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรชั้นปีที่
นำเสนอผลงานวิชาการ เรื่อง การพัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ โดยการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิคการคิดแบบหมวกหกใบ สำหรับนักเรียน ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการ พลาญชัยร้อยเอ็ด
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีการจัดการเพชรเกษม
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย ศุภลักษณ์ พูลเกษม วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ 8
การนำเสนอผลงานวิจัยและนวัตกรรมสื่อการสอนทางอาชีวศึกษา ครั้งที่ 8
ว่าที่ร้อยตรีศิริพงษ์ สายหยุด ผู้วิจัย
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการพัฒนาการจัดการเรียนรู้
วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชการ
วิธีการแก้ปัญหาการอธิบายกลไกลการทำงานเกียร์ขับเคลื่อนล้อหลัง 5 สปีด
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา การบัญชี อุตสาหกรรมและระบบใบสำคัญ ของนักศึกษาระดับ ปวช. 3 สาขาการบัญชี ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้
ผู้วิจัย นายณัฐภูมิ จาระธรรม วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่
โดย นางสาววิมลรัตน์ ยอดคำแปง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาทักษะการใช้เลื่อยมือตัดชิ้นงาน โดยใช้ชุดฝึกทักษะ วิชางานฝึกฝีมือ 1 ของนักเรียนช่างยนต์ สาขางานยานยนต์ ชั้นปีที่ 1 คณะช่างอุตสาหกรรม วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี กมล ศรีวัฒนะ

วัตถุประสงค์การวิจัย 1. เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนวิชางานฝึกฝีมือ ด้วยการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ โดยให้นักเรียนแก้ปัญหาที่กำหนดให้และหา ประสิทธิภาพของชุดฝึกทักษะการใช้เลื่อยมือ ตัดชิ้นงาน ที่พัฒนาขึ้น ตามเกณฑ์ E 1 /E 2 ไม่ต่ำกว่า 80/80 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียน ระหว่างก่อนเรียนกับหลังเรียนเรื่องการพัฒนาทักษะการใช้เลื่อยมือ ตัด ชิ้นงาน โดยใช้ชุดฝึกทักษะ และแบบทดสอบที่กำหนดให้ 3. เพื่อศึกษาดัชนีประสิทธิผลของการสอนโดยวิธีการให้ นักเรียนสร้างผลงานจากการปฏิบัติงานเลื่อยมือ ตัดชิ้นงานที่กำหนดให้

ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง กลุ่มเป้าหมายเป็นนักเรียนสาขาช่างยนต์ สาขา งานยานยนต์ ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี ที่ไม่ผ่านเกณฑ์การใช้เลื่อยมือ ตัดชิ้นงาน ร้อยละ 50 โดยแบบเจาะจง (Purposive Sampling) จำนวนทั้งหมด 24 คน

ผลวิเคราะห์/ตารางที่สำคัญ การวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาทักษะการใช้เลื่อยมือตัดชิ้นงาน โดยใช้ชุดฝึกทักษะ วิชางานฝึกฝีมือ ของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 สาขาช่างยนต์ สาขางานยานยนต์ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 โดย แบ่งผลการวิเคราะห์ออกเป็น 2 ตอน มีรายละเอียดดังนี้ ตอนที่ 1 ผลการวิเคราะห์หาค่าประสิทธิภาพชุดฝึกทักษะ ตามเกณฑ์ 80/80 ชุดฝึกทักษะกับนักเรียนกลุ่มตัวอย่าง ดังตารางที่ 1 ถึง 3

ตารางที่ 1 ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน S.D. และประสิทธิภาพของชุดฝึก ทักษะ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 สาขาช่างยนต์ สาขา งานยานยนต์ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 จากตารางที่ 1 พบว่า นักเรียน 24 คน ได้คะแนนเฉลี่ยของการทำชุดฝึกทักษะเท่ากับ คิดเป็นร้อยละ ของคะแนนเต็ม ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.81 แสดงว่า ชุดฝึกทักษะมีประสิทธิภาพของชุดฝึกทักษะ (E 1 ) เท่ากับ 80.17

จากตารางที่ 2 พบว่า นักเรียน 24 คนได้คะแนนเฉลี่ยของการทำแบบทดสอบ หลังเรียนเท่ากับ คิดเป็นร้อยละ ของคะแนนเต็ม ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 1.67 แสดงว่า แบบทดสอบหลังเรียน มีประสิทธิภาพของกระบวนการ (E 2 ) เท่ากับ 83.38

ตารางที่ 3 สรุปการหาค่าประสิทธิภาพของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามเกณฑ์ 80/80 ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 สาขาช่างยนต์ สาขางานยานยนต์ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 จากตารางที่ 3 พบว่า ประสิทธิภาพของชุดฝึกทักษะ (E 1 ) เท่ากับ และ ประสิทธิภาพของกระบวนการ (E 2 ) เท่ากับ ดังนั้น การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ที่ผู้ ศึกษาค้นคว้าสร้างขึ้นมีประสิทธิภาพเท่ากับ / แสดงว่าการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ ที่ผู้ศึกษาค้นคว้าสร้างขึ้นมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้

ตอนที่ 2 หาค่าดัชนีประสิทธิผล (E.I) ของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ตารางที่ 4 ผลการคำนวณดัชนีประสิทธิผล (E.I) ของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ จากตารางที่ 4 พบว่า ค่าดัชนีประสิทธิผล การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดย วิธีการให้นักเรียนสร้างผลงานจากการปฏิบัติงานเลื่อยมือ ตัดชิ้นงานที่กำหนดให้ มี ค่าดัชนีประสิทธิผลเท่ากับ 0.72 แสดงว่ากิจกรรมการเรียนรู้ที่ผู้ศึกษาค้นคว้าสร้าง ขึ้น ทำให้นักเรียนมีความรู้เพิ่มขึ้นจากก่อนเรียนร้อยละ 72

สรุปผลการวิจัย 1. การพัฒนาและหาประสิทธิภาพของชุดฝึกทักษะของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 สาขาช่างยนต์ สาขางานยานยนต์ วิทยาลัย เทคโนโลยีชลบุรี ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 พบว่า ผลการทดสอบระหว่าง เรียน คิดเป็นร้อยละ (E 1 ) และผลการทดสอบหลังเรียน คิดเป็นร้อยละ (E 2 ) แสดงว่าชุดฝึกทักษะ มีประสิทธิภาพเท่ากับ 80.17/83.38 เป็นไปตามเกณฑ์ที่ กำหนด 80/80 2. การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คะแนนก่อนและหลังการใช้ ชุดฝึกทักษะของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 สาขาช่างยนต์ สาขา งานยานยนต์ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 จำนวน 24 คน ที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินร้อยละ 50 พบว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนก่อนเรียนเท่ากับ และเมื่อใช้ชุดฝึกทักษะมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ มีคะแนนเฉลี่ยสูงขึ้น แสดงว่าผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะเพิ่มมากขึ้น

3. ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนต่อชุดฝึกทักษะการใช้เลื่อยมือ ตัดชิ้นงาน ผู้เรียนที่ได้ทำการเรียนรู้โดยใช้การจัดการสอนด้วยวิธีจัดการเรียนรู้โดยใช้ รูปแบบการเรียนรู้โดยใช้ชุดฝึกปฏิบัติ มีสัมฤทธิ์ผลทางการเรียนรู้ที่สูงขึ้น และ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของกระบวนการเรียนการสอนตามที่ตั้งเป้าหมายไว้ สามารถที่จะช่วยครูผู้สอนได้ทำการพัฒนาผู้เรียนพัฒนาผู้เรียนให้เกิดกระบวนการ เรียนรู้ สามารถเพิ่มทักษะสำหรับผู้เรียนได้เป็นอย่างดี 4. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การพัฒนาทักษะการใช้เลื่อยมือ ตัดชิ้นงาน โดย ใช้ชุดฝึกทักษะ วิชางานฝึกฝีมือของนักเรียนสาขาช่างยนต์ สาขางานยานยนต์ ชั้นปีที่ 1 คณะช่างอุตสาหกรรม วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี มีค่าดัชนีประสิทธิผล เท่ากับ 0.72 หรือคิดเป็นร้อยละ 72

อภิปรายผล 1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิชางานฝึกฝีมือ เรื่อง การพัฒนาทักษะการใช้เลื่อยมือ ตัดชิ้นงาน โดยใช้ชุดฝึกทักษะโดยวิธีการให้นักเรียนสร้างผลงานจากการปฏิบัติงานเลื่อยตัด ชิ้นงาน ได้ตรงตามแบบที่กำหนดให้ มีประสิทธิภาพเท่ากับ 80.17/83.38 เนื่องจากพัฒนาการ ฝึกทักษะที่นักเรียนได้ทดลองแก้ปัญหาเฉพาะหน้า โดยนำความรู้และประสบการณ์ที่มีอยู่มา ประยุกต์ใช้ตามความเหมาะสมฝึกสังเกต เมื่อไม่เข้าใจเนื้อหาส่วนใดหรือแก้ปัญหาข้อใดไม่ได้ ก็จะมีการค้นหาวิธีการด้วยตนเอง รู้จักคิด ทำให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้และจดจำวิธีการ แก้ปัญหานี้ไว้ตลอด 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิชางานฝึกฝีมือเรื่อง การพัฒนาทักษะการใช้เลื่อยมือ ตัดชิ้นงาน โดยใช้ชุดฝึกทักษะ โดยวิธีการให้นักเรียนสร้าง ผลงานจากการปฏิบัติงานเลื่อยตัดชิ้นงาน ได้ตรงตามแบบที่กำหนดให้ มีค่าสูงกว่าการเรียน ตามปกติ เนื่องจากการเรียนโดยชุดฝึกทักษะ ซึ่งประกอบด้วยรูปภาพ ข้อความ หรือคำสั่ง เกี่ยวกับงานเลื่อยมืออย่างละเอียดเป็นการเรียนรู้แบบรูปธรรมโดยการมองเห็น ในขณะฝึก ปฏิบัติที่การเรียนชุดฝึกทักษะนักเรียนสามารถค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติมได้จากสื่อต่างๆ ทำให้ เกิดการเรียนรู้ใหม่ๆ

3. ค่าดัชนีประสิทธิผลจากการเรียนด้วยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิชางานฝึก ฝีมือ เรื่อง การพัฒนาทักษะการใช้เลื่อยมือ ตัดชิ้นงาน โดยใช้ชุดฝึกทักษะโดยวิธีการให้ นักเรียนสร้างผลงานจากการปฏิบัติงานเลื่อยตัดชิ้นงาน ได้ตรงตามแบบที่กำหนดให้ มี ค่าเท่ากับ 0.72 หรือคิดเป็นร้อยละ 72 ทั้งนี้เนื่องจากแบบฝึกทักษะจะมีใบงานต่างๆให้ นักเรียนทำตามลำดับขั้นตอน คือ การวิเคราะห์ปัญหา,กำหนดวิธีการแก้ปัญหา,เลือก วิธีการแก้ปัญหาลงมีปฏิบัติและปรับปรุงแก้ไขทั้งนี้เพื่อฝึกให้นักเรียนคิดอย่างเป็นระบบ สามารถทำการแก้ปัญหาและเกิดการเรียนรู้ได้เร็วขึ้นและนำความรู้ที่มีอยู่มาใช้ให้เกิด ประโยชน์

ภาพหลักฐานประกอบ

ข้อเสนอแนะ จากการทำวิจัยในครั้งนี้ ผู้วิจัยมีแนวคิดในการทำวิจัยครั้งต่อไปว่า 1. ควรมีการพัฒนาเรื่องการใช้เทคโนโลยีมาช่วยจัดกระบวนการ เรียนการสอน เนื่องจากในปัจจุบันเทคโนโลยีมีบทบาทสำคัญต่อนักเรียน และ เพื่อนำผลการวิจัยมาจัดทำแผนการเรียนรู้ซึ่งจะส่งผลต่อการเรียนของนักเรียน ให้มีประสิทธิภาพต่อไป 2. ควรศึกษาเชิงสำรวจหาข้อมูลจากหลาย ๆ ฝ่าย เช่น ผู้สอนท่านอื่น ผู้เรียน หรือ ผู้เกี่ยวข้องอื่น ๆ เพื่อจะได้สร้างและพัฒนาการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ให้ตรงกับความต้องการของผู้เรียน 3. การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้ชุดฝึกทักษะสามารถมีผล ต่อการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนสูงขึ้นได้ ดังนั้นควรส่งเสริม และสนับสนุนการนำชุดการสอนมาใช้ในวิทยาลัย