ระบบคุ้มครองผู้บริโภค ด้านสุขภาพ (ปรับปรุง 15062011)
ประเด็น คำถาม / ข้อเสนอแนะจากที่ประชุม บทบาทภารกิจ โครงสร้าง กลไก ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น ความสัมพันธ์ หน่วยงานภายนอก กสธ. / หน่วยงานภายนอกภาครัฐ มาตรฐานและวิธีทำงาน
ตอบโจทย์ สำหรับการพัฒนาระบบงานคุ้มครองผู้บริโภค บทบาท ภารกิจ โครงสร้างและบริหาร จัดการ การพัฒนากฎหมาย การพัฒนาศักยภาพ ผู้บริโภค (ภาคประชาชน)
1. บทบาท ภารกิจ
safety efficacy quality access security cost - effective distribution rational use ผลิตภัณฑ์สุขภาพ (กฎหมาย 8 ฉบับ) บริการสุขภาพ (ภาครัฐ เอกชน) ??? สินค้า ที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ เช่น เหล้า บุหรี่ บริการ ที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ
Function 10 ประการ 1. การเฝ้าระวังปัญหาและร้องเรียน 7 ข้อมูลข่าวสารด้านผลิตภัณฑ์และบริการ 2 .การบังคับใช้กฎหมายก่อนออกสู่ตลาด 8 การพัฒนาผู้ประกอบการ 3 การบังคับใช้กฎหมายหลังออกสู่ตลาด 9 การกำหนดมาตรฐานและออกกฎหมาย 4 การควบคุม โฆษณาและส่งเสริมการขาย 5 ชดเชยค่าเสียหายและเยียวยาเบื้องต้น 10 การส่งเสริมการเข้าถึง การใช้อย่างเหมาะสม คุณภาพ 6 การให้ความรู้ และพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค
ส่วนกลาง พัฒนานโยบายและยุทธศาสตร์ พัฒนากฎหมาย กำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์ / บริการ ศูนย์ข้อมูลข่าวสาร เพื่อการบริหารความ เสี่ยง การจัดการความรู้ การสนับสนุนผู้ประกอบการ ควบคุมโฆษณา การส่งเสริมการขาย (Mass media) บังคับใช้กฎหมาย (ผลิตภัณฑ์/บริการที่เสี่ยงสูงกระทบวง กว้าง การนำเข้า)
ระดับเขต การถ่ายทอดนโยบายสู่การปฏิบัติ บริหารจัดการทรัพยากร รวมทั้ง งบประมาณ ติดตาม กำกับ หน่วยงานส่วน ภูมิภาค ท้องถิ่น บูรณาการการทำงานกับภาค ประชาชน
ระดับจังหวัด (สสจ / อปท.รูปแบบพิเศษ) การบังคับใช้กฎหมาย Pre-marketing Post - marketing ความพร้อม ความเสี่ยง
ระดับอำเภอ (สสอ) บังคับใช้กฎหมาย Post - marketing ระดับอำเภอ (สสอ) บังคับใช้กฎหมาย Post - marketing เทศบาล : Post - marketing มอบอำนาจบางส่วน ตามขีดความสามารถ
ระดับตำบล (อปท.) Empowerment เฝ้าระวัง
(หน่วยบริการ : รพศ รพท รพช รพ.สต) ระดับจังหวัด – อำเภอ (หน่วยบริการ : รพศ รพท รพช รพ.สต) ระดับจังหวัด – อำเภอ Empowerme nt เฝ้าระวัง
ระบบชดเชย เยียวยา : สินค้า : สคบ บริการ : รอเสนอกฏหมาย
ถ่ายโอนภารกิจให้ ภาคเอกชนดำเนินการ ปรับโครงสร้างภายใน ถ่ายโอนภารกิจให้ ภาคเอกชนดำเนินการ Policy IT/KM Std. Law การนำเข้า ตอบสนอง ความท้าทายและภารกิจหลัก
2 ด้านโครงสร้างและบริหารจัดการ Agenda –based Team Area – based team Cross functional teams ศูนย์ประสานงานการเฝ้าระวังและจัดการความเสี่ยงความเสี่ยง ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ / บริการสุขภาพ ศูนย์ประสานงานพัฒนาระบบสุขภาพภาคประชาชน หน่วยงานรองรับการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ คณะกรรมการระดับชาติ : คณะกรรมการอาหารแห่งชาติ คณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ
3 ด้านการพัฒนากฎหมาย ** ปรับปรุงกฎหมายให้สามารถ บังคับใช้กับ ผลิตภัณฑ์สุขภาพ/ สถานพยาบาลของภาครัฐ และ เอกชนให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน
4 ด้านการพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค (ภาคประชาชน) 4 ด้านการพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค (ภาคประชาชน) ระดับกระทรวง : ศูนย์ ประสานงานพัฒนาระบบ สุขภาพภาคประชาชน(Cross functional teams ) ระดับเขต : บูรณาการการ ทำงานกับภาคประชาชน
สถานการณ์แวดล้อม Policy need ระบบงานคุ้มครองผู้บริโภค การกระจายอำนาจ สังคม ข้อมูล ข่าวสาร ระบบงานคุ้มครองผู้บริโภค การเปิดเสรี ทางการค้า มาตรฐาน ระดับสากล ภาคประชาชน (องค์กรอิสระผู้บริโภค) เทคโนโลยี ความซับซ้อน (ผลิตภัณฑ์ / บริการ)
หลักการ ตอบสนองประเด็นท้าทาย สอดคล้องกับทิศทาง (การปฏิรูปประเทศ/การถ่ายโอนภารกิจ) ลดความซ้ำซ้อน เสริมพลัง