เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โอกาสและความท้าทาย ของศูนย์เด็กเล็ก และโรงเรียนอนุบาลปลอดโรคในอนาคต
Advertisements

การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
สถานการณ์ส้วมสาธารณะในกรุงเทพมหานคร
เป้าหมาย ร้อยละ 98 ตัวชี้วัด ยุทธศาสตร์ที่ 2 บริการเฉพาะ ข้อที่ 25 ร้อยละความสำเร็จของข้อร้องเรียนของผู้บริโภค ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ ได้รับการแก้ไขภายในระยะเวลาตามที่กำหนด.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
การส่งเสริมศักยภาพ การคุ้มครอง พิทักษ์สิทธิประชาชนในแต่ละ กลุ่มเป้าหมาย โดยการกำหนด มาตรการ กลไก ส่งเสริมสนับสนุน ภาครัฐและเอกชนในการดำเนินการ ตามนโยบายและมาตรการที่กำหนด.
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
เป็นเจ้าภาพหลัก 2 ประเด็น เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
ณ โรงแรมทีเค พาเลซ ถนนแจ้งวัฒนะ หลักสี่ กทม ธันวาคม 2557
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก รพ.ป่าติ้ว
ประชุมMCH Board จังหวัดอุตรดิตถ์ ครั้งที่ ๒/๒๕๕๘ วันพฤหัสที่ ๑๘มิถุนายน ๒๕๕๘ ณ ห้องประชุมภูสอยดาว สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ์
๒ ปี...ก้าวย่างของการพัฒนา
ศูนย์พัฒนา เด็กเล็ก เทศบาล ตำบลปัว ยินดี ต้อนรับ ยินดี ต้อนรับ.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
แผนการตรวจรับรอง สถานที่ทำงานน่าอยู่ น่า ทำงาน โดยศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี วันเวลาหน่วยงานทีมประเมิน 11 กค.59 เช้า - รพท. นภ. บ่าย สสอ. เมือง ศูนย์อนามัย.
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระบบบัญชี สุขภาพ (1-8) กุมภาพันธ์ 2558 สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดบุรีรัมย์
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จของการรายงานข้อมูลให้มีความ ครอบคลุม ถูกต้อง และทันสมัย ปีงบประมาณ กองแผนงาน -
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอน้ำพอง
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
ระบบการตรวจราชการและนิเทศงานกรมอนามัย
สำหรับศูนย์อนามัยที่ 1, 3, 6, 10, 11, 12
ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
มาตรการ/กลวิธีสำคัญในการดำเนินงาน
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
รพ.สต.สายใยรัก อำเภอสัตหีบ
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
Model ผลที่คาดหวัง วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดหลัก
ข้อสังเกตโดยรวมของผลงานที่ได้คะแนน ระดับดีมาก - ดี
ข้อเสนอ การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม
การกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา และการประกาศค่าเป้าหมาย
การตรวจราชการ “ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน”
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
แนวทางการรณรงค์ พัฒนาการเด็ก 4-8 กรกฎาคม 2559
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
นายแพทย์สุวัช เซียศิริวัฒนา 19 พฤษภาคม 2552 โรงแรมอมารีแอร์พอร์ต
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
กลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย เขตสุขภาพที่ 6
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
บทบาทกรมอนามัยต่อการขับเคลื่อน มหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
ข้อตกลงการปฏิบัติงาน (Performance Agreement : PA) ปีงบประมาณ 2561 ไตรมาสที่ 2 (1 ต.ค. 60 – 31 มี.ค. 61) เขตสุขภาพที่ 12.
ด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ” สำนักโภชนาการ.
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
จังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี ปี 54
ประเด็นและแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 ปีงบประมาณ 2560 การส่งเสริม สุขภาพ ป้องกันโรค และการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ.
โครงการโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล (1 ตำบล 1 โรงเรียนคุณภาพ)
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล (ตัวชี้วัดศูนย์อนามัยที่ 1-12) เจ้าภาพ : สำนักส่งเสริมสุขภาพ 1

ตัวชี้วัดที่ 1.1 ร้อยละของเด็กที่มีพัฒนาการสมวัย สำนักส่งเสริมสุขภาพ การประเมินความสำเร็จของตัวชี้วัด “ร้อยละของเด็กที่มีพัฒนาการสมวัย” ในระดับศูนย์อนามัยจะประเมินจากภารกิจที่ศูนย์อนามัยดำเนินการ 2 ตัวชี้วัด ดังนี้ 1. ร้อยละของ MCH Board ระดับจังหวัด มีกลไกในการเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาสุขภาพอนามัยแม่และเด็ก 2. ร้อยละของศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ 2 ** รอเจ้าภาพปรับแก้ไขเกณฑ์การประเมิน

ตัวชี้วัด : ร้อยละของ MCH Board ระดับจังหวัด มีกลไกในการเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาสุขภาพอนามัยแม่และเด็ก คำอธิบาย MCH Board มีกลไก หมายถึง 1.มีการประชุมคณะกรรมการทุก 3 เดือน โดยมีวาระการประชุมคือสถานการณ์และผลการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็กและวิเคราะห์ และจัดทำแผนงาน/โครงการเพื่อการแก้ไขปัญหาอนามัยแม่และเด็ก 2.มีการสืบสวนการตายของมารดาและทารกทุกรายและรายงานสู่กรมอนามัยภายใน 1เดือน 3.มีระบบเครือข่ายการส่งต่อหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงพบสูติแพทย์ กรณีหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะฉุกเฉินจะต้องได้รับการช่วยเหลือภายใน 5 นาที และเด็กที่สงสัยพัฒนาการล่าช้าพบกุมารแพทย์ในจังหวัด ภายใน 1 เดือน ประชากรกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ MCH Board ระดับจังหวัด ระยะเวลาประเมินผล : ประเมินทุก 3 เดือน วิธีการประเมิน : ทีมผู้ตรวจ สัมภาษณ์ ดูเอกสาร สังเกตการปฏิบัติงานของ MCH Board ระดับจังหวัด 3

เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับความสำเร็จตามเป้าหมาย ตัวชี้วัด ร้อยละของ MCH Board ที่มีกลไกในการเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาอนามัยแม่และเด็ก เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับความสำเร็จตามเป้าหมาย 20 40 60 80 100 ศูนย์อนามัยที่ 1 -12 70 90 สูตรการคำนวณ จำนวน MCH Board ระดับจังหวัดที่มีกลไกในการเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาอนามัยแม่และเด็ก x 100 จำนวน MCH Board ระดับจังหวัดทั้งหมด หลักฐานอ้างอิง/แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล : แหล่งข้อมูล : ทีมประเมินระดับเขต/จังหวัด วิธีการจัดเก็บข้อมูล : ประเมิน MCH Board ระดับจังหวัดโดยศูนย์อนามัยที่ 1-12 และรายงานทุก 3 เดือนทาง E-mail : saiyairakhospital@hotmail.com 4

ตัวชี้วัด : ร้อยละของศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ คำอธิบาย ศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ หมายถึง ศูนย์เด็กเล็กทุกสังกัดที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานศูนย์เด็กเล็กคุณภาพกระทรวงสาธารณสุข 2557 โดยมีกระบวนการจัดบริการที่ได้มาตรฐาน 6 ด้าน ดังนี้ 1. ด้านบุคลากรมีสุขภาพร่างกายและจิตใจที่ดีและมีความรู้ในเลี้ยงดูเด็ก 2. ด้านการเจริญเติบโตของร่างกาย ด้วยการจัดอาหารมื้อหลักตามโภชนาการและอาหารเสริมตามวัย สะอาดถูกหลักสุขาภิบาลอาหารและการดูแลสุขภาพ ช่องปาก 3. ด้านพัฒนาการและเรียนรู้ตามช่วงวัย 4. ด้านการจัดสภาพแวดล้อมภายในและภายนอกศูนย์ฯ สะอาดและปลอดภัย 5. ด้านการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อภายในศูนย์ เช่น มือเท้าปาก ฯลฯ 6. ด้านการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ชุมชน ท้องถิ่นและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง พร้อมบรรลุผลลัพธ์ 4 ข้อคือ 1. เด็กมีพัฒนาการสมวัย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 (อนามัย 55 ) 2. เด็กมีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน ไม่น้อยกว่าร้อยละ70 3. เด็กมีปัญหาฟันน้ำนมผุ ไม่เกินร้อยละ 55 4. มีการส่งต่อเด็กที่มีพัฒนาการไม่สมวัยเข้ารับการประเมินและแก้ไขพัฒนาการ 5

คำอธิบาย (ต่อ) ประชากรกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ศูนย์เด็กเล็กทุกสังกัด ระยะเวลาประเมินผล : ประเมินทุก 3 เดือน วิธีการประเมินผล : ทีมประเมินมาตรฐานบูรณาการระดับส่วนกลาง ระดับเขตและระดับจังหวัด สูตรการคำนวณ จำนวนศูนย์เด็กเล็กที่ผ่านเกณฑ์ศูนย์เด็กเล็กคุณภาพในปี 2558 x 100 จำนวนศูนย์เด็กเล็กทั้งหมด ในปีเดียวกัน 6

เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับความสำเร็จตามเป้าหมาย ตัวชี้วัด ร้อยละของศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับความสำเร็จตามเป้าหมาย 20 40 60 80 100 ศูนย์อนามัยที่ 1 -12 56 58 62 64 หลักฐานอ้างอิง/แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล : แหล่งข้อมูล : ศูนย์อนามัยที่ 1-12 วิธีการจัดเก็บข้อมูล : ประเมินมาตรฐานโดยทีมศูนย์อนามัยที่ 1-12 และรายงานทุก 3 เดือน ทาง E-mail : saiyairakhospital@hotmail.com 7

Q&A 8