งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ
ระบบรายงาน ด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ ศิริวลัยย์ มณีศรีเดช กลุ่มโรคติดต่อระหว่างประเทศ สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข

2 ระบบรายงานประจำเดือน ของด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ
รายงานการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคติดต่อระหว่างประเทศ รายงานการเฝ้าระวังและป้องกัน โรคไข้เหลือง รายงานการใช้เอกสารรับรองการให้วัคซีนหรือยาป้องกัน โรคติดต่อระหว่างประเทศ

3 ด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ (ท่าอากาศยาน)
รายงานการปฏิบัติงาน ด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ (ท่าอากาศยาน) จำนวนพาหนะ ตรวจคัดกรองผู้ป่วย ตรวจสอบประเมินมาตรฐานคุณภาพและให้คำปรึกษาด้านสุขาภิบาล ยานพาหนะและลานจอด ตรวจสอบประเมินมาตรฐานคุณภาพ เพื่อให้คำปรึกษาด้านสุขาภิบาล ทั่วไป การสุขาภิบาลร้านอาหาร ครัว ตรวจสุขภาพเจ้าหน้าที่ตรวจคนเข้าเมือง ให้การรักษาพยาบาลเบื้องต้นแก่ผู้เดินทางระหว่างประเทศหรือบุคลลทั่วไป ให้ความรู้ / แจกเอกสารด้านสุขภาพ

4 ตัวอย่าง แบบรายงาน

5 ตัวอย่าง แบบรายงาน

6 ด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ (ท่าเรือ)
รายงานการปฏิบัติงาน ด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ (ท่าเรือ) รายงานการเฝ้าระวังเรือที่เดินทางเข้ามาในราชอาณาจักร ตรวจสุขาภิบาลเรือ ตรวจสุขาภิบาลอาหาร สิ่งแวดล้อม งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคแก่ผู้เดินทาง รายงานควบคุมโรค (ร.3) รายงานเรือเข้า (ร.2)

7 ตัวอย่าง แบบรายงาน

8 ตัวอย่าง แบบรายงาน

9 ตัวอย่าง แบบรายงาน

10 ด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ (พรมแดน)
รายงานการปฏิบัติงาน ด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ (พรมแดน) จำนวนผู้เดินทางที่เข้ามาในราชอาณาจักร ผู้เดินทางที่ผ่านการคัดกรอง การสุขาภิบาลยานพาหนะ อาหาร และสิ่งแวดล้อม การเฝ้าระวังพาหะนำโรค การให้บริการทางการแพทย์ เช่น วัคซีน การปฐมพยาบาล หรือให้การรักษาเบื้องต้น

11 ตัวอย่าง แบบรายงาน

12 ตัวอย่าง แบบรายงาน

13 รายงานผลการดำเนินงานของ ที่ทำการแพทย์ตรวจคนเข้าเมือง
การพิจารณาอนุญาตให้คนต่างด้าวอยู่ต่อไปใน ราชอาณาจักร สร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ให้คำแนะนำ ปรึกษา ด้านสุขภาพ การรักษาพยาบาล ตรวจสุขภาพผู้ต้องกัก เฝ้าระวัง ป้องกันโรคติดต่อ เช่น เท้าช้าง วัณโรค เรื้อน การตรวจสุขาภิบาลห้องกัก

14 ตัวอย่าง แบบรายงาน

15 ตัวอย่าง แบบรายงาน

16 ที่ไปประกอบพิธีฮัจย์ เช่น เมอร์ส, อีโบลา, ซิก้า ฯลฯ
รายงานประจำปี ผู้แสวงบุญ ที่ไปประกอบพิธีฮัจย์ กรณีมีเหตุฉุกเฉิน เช่น เมอร์ส, อีโบลา, ซิก้า ฯลฯ

17 ตัวอย่าง แบบรายงาน

18 ตัวอย่าง แบบรายงาน

19 รายงานผลการปฏิบัติงาน ตามคำรับรอง ตัวชี้วัด
ปีงบประมาณ 2560 ตัวชี้วัดตามผลการปฏิบัติราชการ คำรับรองการปฏิบัติราชการปีงบประมาณ 2560 1 ตัวชี้วัดผลผลิตสำนักงบประมาณ ปีงบประมาณ 2560 2 รายงานผลการดําเนินงานตามรัฐธรรมนูญ ปีงบประมาณ 2560 3 ระดับความสำเร็จของกระบวนการพัฒนาสมรรถนะหลักช่องทางเข้าออกประเทศที่เป็นเป้าหมายผ่านเกณฑ์การประเมินที่กำหนด SDA 0617 SDA0619_1 (เชิงคุณภาพ) PSA04_1** SDA1135_1 SDA 1133 จำนวนประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับบริการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคที่เป็นปัญหาที่สำคัญ

20 ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด : (3 - 5 ปี) ผลการดำเนินงานปีงบประมาณ
1 ตัวชี้วัดตามผลการปฏิบัติราชการ คำรับรองการปฏิบัติราชการปีงบประมาณ 2560 ตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จของกระบวนการพัฒนาสมรรถนะหลักช่องทางเข้าออกประเทศที่เป็นเป้าหมายผ่านเกณฑ์การประเมินที่กำหนด ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด : (3 - 5 ปี) POE เป้าหมาย POE 68 แห่ง ตัวชี้วัด หน่วยวัด ผลการดำเนินงานปีงบประมาณ 2556 2557 2558 2559 จำนวนด่านช่องทางฯ ที่เป็นเป้าหมายผ่านเกณฑ์การประเมินที่กำหนด แห่ง (ร้อยละ) เป้าหมาย 17 (94.4) 18 46 (90.2) 51 52 (77.6) 67 54 (80.6) เกณฑ์ที่กำหนดในการพัฒนาสมรรถนะช่องทางฯ จัดทำร่างคำสั่งหรือคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานพัฒนาช่องทางเข้าออกประเทศตาม IHR 2005 หรือคณะทำงานประจำช่องทางเข้าออก ตาม พ.ร.บ. โรคติดต่อ พ.ศ.2558 ช่องทางฯ ประเมินการพัฒนาสมรรถนะหลักช่องทางเข้าออกประเทศด้วยตนเอง (Self assessment) โดยใช้ CCAT ช่องทางฯ จัดทำแผนพัฒนาช่องทางเข้าออกของตนเอง สคร. ดำเนินการสนับสนุนการพัฒนาสมรรถนะช่องทางฯ ด้านวิชาการ (เช่น จัดอบรม/สัมมนา/ประชุมวิชาการ หรือส่งเจ้าหน้าที่เข้าร่วมอบรมที่ส่วนกลาง) สนับสนุนการจัดทำหรือฝึกซ้อมแผนตอบโต้ภาวะฉุกเฉินฯ สนับสนุนด้านวัสดุอุปกรณ์ที่จำเป็นในการปฏิบัติงานป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ สคร. จัดทำแผนติดตามและประเมินการพัฒนาฯ ช่องทางฯ(Internal audit) โดยใช้ CCAT วิเคราะห์ สรุปผลการประเมิน และรายงานผลการดำเนินงานพร้อมจัดทำแผนพัฒนาช่องทางฯในปี 2561และแจ้งผลการประเมินให้สำนักโรคติดต่อทั่วไปเพื่อรวบรวมผลเป็นภาพรวมต่อไป เป้าหมาย ปี 2560 ร้อยละ 90 (61 แห่ง จาก 68 แห่ง) แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล จัดทำแผนสนับสนุนการพัฒนาช่องทางฯ ประเมิน Internal audit (CCAT) วิเคราะห์ผล & เสนอปัญหาและข้อเสนอแนะต่อผู้บริหาร แจ้งผลการประเมินให้สำนักโรคติดต่อทั่วไป(รายงาน SAR ในระบบ Estimates รอบ 6, 9 และ 12 เดือน ) POE เป้าหมาย สคร. 1-2, 5-6, 8-12 สำนักโรคติดต่อทั่วไป รวบรวมข้อมูล จัดทำสรุปผลการดำเนินงานภาพรวม & รายงาน SAR ในระบบ Estimates

21 ตัวชี้วัดผลผลิต สำนักงบประมาณ ปีงบประมาณ 2560
ตัวชี้วัดผลผลิต สำนักงบประมาณ ปีงบประมาณ 2560 ช่องทางเข้าออกประเทศ 68 แห่ง SDA 0617 SDA0619_1 (เชิงคุณภาพ) นอกพื้นที่เขตพัฒนา เศรษฐกิจพิเศษ จำนวน 42 แห่ง PSA04_1** SDA1135_1 SDA 1133 ในพื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ (SZE) (10 จังหวัด) จำนวน 26 แห่ง ร้อยละของช่องทางฯ ในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษผ่านเกณฑ์การประเมินที่กำหนด (ร้อยละ 90) (PSA04_1) จำนวนช่องทางฯ ได้รับการพัฒนาตามแนวทางกฎอนามัยระหว่างประเทศพ.ศ.2548 (SDA 0617 และ SDA 1133) เครือข่ายมีความพึงพอใจต่อการเสริมสร้างความสามารถในการดำเนินงานช่องทางฯ (SDA0619_1 และ SDA1135_1)

22 ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด : (3 - 5 ปี) ผลการดำเนินงานปีงบประมาณ
ร้อยละของช่องทางฯ ในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษผ่านเกณฑ์ การประเมินที่กำหนด (ร้อยละ 90) (ตัวชี้วัด : PSA04_1)** ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด : (3 - 5 ปี) POE เป้าหมาย POE 26 แห่ง ในเขตSEZ ตัวชี้วัด หน่วยวัด ผลการดำเนินงานปีงบประมาณ 2556 2557 2558 2559 จำนวนด่านช่องทางฯ ที่เป็นเป้าหมายผ่านเกณฑ์การประเมินที่กำหนด แห่ง (ร้อยละ) เป้าหมาย 17 (94.4) 18 46 (90.2) 51 52 (77.6) 67 54 (80.6) ผ่านเกณฑ์การประเมิน > 50 % ของ CCAT & กระบวนการพัฒนาสมรรถนะช่องทางฯ เป้าหมาย ปี 2560 เกณฑ์ที่กำหนดในการพัฒนาสมรรถนะช่องทางฯ 1.มีเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานประจำด่านควบคุมโรคฯ 2.จัดทำร่างคำสั่งหรือคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานประจำช่องทางเข้าออก ตาม พ.ร.บ.โรคติดต่อ พ.ศ หรือคณะทำงานพัฒนาสมรรถนะช่องทางฯ 3.ประชุมคณะทำงานฯ อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง 4.ช่องทางฯ ประเมินการพัฒนาสมรรถนะหลักช่องทางเข้าออกประเทศด้วยตนเอง (Self assessment) โดยใช้ CCAT 5.ช่องทางฯ จัดทำแผนพัฒนาช่องทางเข้าออกของตนเอง 6.สคร. จัดทำแผนติดตามและประเมินการพัฒนาฯ ช่องทางฯ(Internal audit) โดยใช้ CCAT วิเคราะห์ สรุปผลการประเมิน และรายงานผลการดำเนินงาน ไปยัง สำนักโรคติดต่อทั่วไป ร้อยละ 90 (23 แห่ง จาก 26 แห่ง) ในเขต SEZ KPI : PSA04_1 แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล จัดทำแผนสนับสนุนการพัฒนาช่องทางฯ ประเมิน Internal audit (CCAT) วิเคราะห์ผล & เสนอปัญหาและข้อเสนอแนะต่อผู้บริหาร แจ้งผลการประเมินให้สำนักโรคติดต่อทั่วไป(รายงาน SAR ในระบบ Estimates รอบ 6, 9 และ 12 เดือน ) สคร. 1-2, 5-6, 8-12 สำนักโรคติดต่อทั่วไป รวบรวมข้อมูล จัดทำสรุปผลการดำเนินงานภาพรวม & รายงาน SAR ในระบบ Estimates

23 จำนวนช่องทางฯ ได้รับการพัฒนาตามแนวทางกฎอนามัยระหว่างประเทศพ. ศ
จำนวนช่องทางฯ ได้รับการพัฒนาตามแนวทางกฎอนามัยระหว่างประเทศพ.ศ.2548 (68 แห่ง) (ตัวชี้วัด : SDA0617 และ SDA 1133) POE 68 แห่ง ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข ลงราชกิจจานุเบกษา 133 ตอนพิเศษ 128 ง ลว 3 มิ.ย.59 ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด POE เป้าหมาย ตัวชี้วัด หน่วยวัด ผลการดำเนินงานปีงบประมาณ 2556 2557 2558 2559 จำนวนด่านช่องทางเข้าออกประเทศ*ได้รับการพัฒนาตามแนวทางกฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ. 2548 จำนวน เป้าหมาย - 51* 51 51  54 67 POE ที่ได้รับการพัฒนาตาม IHR 2005 ช่องทางฯ มีการดำเนินงานในการพัฒนาสมรรถนะช่องทางฯ ครบทั้ง 3 ประเด็น เป้าหมาย ปี 2560 (42 แห่ง) นอกเขต SEZ KPI : SDA0617 (26 แห่ง) ในเขต SEZ KPI : SDA1133 เป้าหมาย การดำเนินงานในการพัฒนาสมรรถนะช่องทางฯ 1.คณะทำงานประจำช่องทางเข้าออก จัดทำแผนปฏิบัติการในการพัฒนาช่องทางฯ ของตนเอง 2.เจ้าหน้าที่ด่านควบคุมโรคฯ ได้รับการอบรมพัฒนาความรู้ ทักษะ ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ การควบคุมพาหะนำโรค และการดำเนินงานด้านสุขาภิบาล (ยานพาหนะ/สิ่งแวดล้อม) 3. ช่องทางฯ จัดทำสรุปผลการวิเคราะห์ข้อมูลของโปรแกรมอย่างน้อย 1 เรื่อง ได้แก่ 1) การตรวจตราควบคุมกำกับด้านสิ่งแวดล้อมภายในช่องทาง (น้ำ อาหาร ขยะ น้ำเสีย อากาศ ฯลฯ) 2) การควบคุมพาหะนำโรค 3) การเฝ้าระวังโรคหรือภัยสุขภาพภายในช่องทางฯ 4) การตรวจสุขาภิบาลยานพาหนะ แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล - รายงานความก้าวหน้าผลการดำเนินงานตามโครงการที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาสมรรถนะช่องทางฯ ในระบบ Estimates SM - สรุปผลตามแบบรายงาน SAR ในระบบ Estimates SM ภายในวันที่ 25 ของเดือนสิ้นไตรมาส สคร. 1-2, 5-6, 8-12 - รวบรวมข้อมูลจากแบบรายงาน SAR ของหน่วยงาน - จัดทำสรุปผลการดำเนินงานภาพรวมโดยรายงาน SAR ในระบบ Estimates SM ในหน่วยงานชื่อ “ภาพรวมกรม” ภายในวันที่ 30 ของเดือนสิ้นไตรมาส สำนักโรคติดต่อทั่วไป

24 เครือข่ายมีความพึงพอใจต่อการเสริมสร้างความสามารถ ในการดำเนินงานช่องทางเข้าออกประเทศ (ร้อยละ 75) (ตัวชี้วัด : SDA0619_1และ SDA 1135_1) POE 68 แห่ง ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข ลงราชกิจจานุเบกษา 133 ตอนพิเศษ 128 ง ลว 3 มิ.ย.59 ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด POE เป้าหมาย ตัวชี้วัด หน่วยวัด ผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2557 2558 2559 เครือข่ายมีความพึงพอใจต่อการเสริมสร้างความสามารถในการดำเนินงานด่านช่องทางเข้าออกประเทศ ร้อยละ 95.0 86.7 80.89 เครือข่าย POE ที่มีความพึงพอใจ ผลการประเมินความพึงพอใจ ที่มีค่าคะแนนระดับมาก คือ มากกว่า หรือเท่ากับร้อยละ 80 ของคะแนนเต็มทั้งหมด เป้าหมาย ปี 2560 (ร้อยละ 75) สคร. เลือกประเมิน 1 แห่ง นอกเขต SEZ KPI : SDA0619_1 (ร้อยละ 75) สคร. เลือกประเมิน จังหวัดละ 1 แห่ง ซึ่งไม่ซ้ำกับนอกเขต ในเขต SEZ KPI : SDA1135_1 เป้าหมาย การวิเคราะห์/แปลผล ความพึงพอใจ วัดเป็น Rating scale 5 ของเครือข่ายที่มีความพึงพอใจต่อการการเสริมสร้างความสามารถในการดำเนินงานช่องทางเข้าออกประเทศ แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล การวิเคราะห์/แปลผล ตามเกณฑ์ตัวชี้วัด สูตรการคำนวณ จำนวนเครือข่ายที่มีความพึงพอใจฯ x 100 จำนวนเครือข่ายที่ตอบแบบประเมินทั้งหมด สำรวจความพึงพอใจ โดยใช้แบบประเมินฯ ตามแบบประเมินกลาง โดยสุ่มเก็บข้อมูลจากเครือข่ายหรือผู้รับบริการของช่องทางฯ ปีละ 1 ครั้ง ในช่วงเวลาที่เหมาะสมกับการดำเนินงาน จัดทำรายงานและแจ้งผลการประเมินฯ ให้สำนักโรคติดต่อทั่วไป จัดทำแบบรายงาน SAR ในระบบ Estimates สคร. 1-2, 5-6, 8-12 สำนักโรคติดต่อทั่วไป - รวบรวมข้อมูล และจัดทำแบบรายงาน SAR ในระบบ Estimates SM ใน“ภาพรวมกรม”

25 รายงานผลการดําเนินงานตามรัฐธรรมนูญ ปีงบประมาณ 2560
3 รายงานผลการดําเนินงานตามรัฐธรรมนูญ ปีงบประมาณ 2560 จำนวนประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับบริการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคที่เป็นปัญหาที่สำคัญ 1. การให้บริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค วัคซีนป้องกันโรคไข้เหลือง วัคซีนป้องกันโรคไข้กาฬหลังแอ่น 2. การให้บริการทางการแพทย์/การปฐมพยาบาลเบื้องต้น วัคซีนป้องกันโรคอหิวาตกโรค วัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ 3. การให้บริการสุขภาพ ผู้ต้องกัก เฉพาะด่านควบคุมโรคฯ ในสังกัด สำนักโรคติดต่อทั่วไป*** แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล ด่านควบคุมโรคฯ สำนักโรคติดต่อทั่วไป จัดทำรายงานประจำเดือนการให้บริการทางการแพทย์ พร้อมส่งให้กับ กลุ่มโรคติดต่อระหว่างประเทศ สำนักโรคติดต่อทั่วไป (รายงานในระบบ Pagth / เอกสาร) รวบรวมข้อมูล จัดทำสรุปผลการดำเนินงานภาพรวม

26 (Port, Airport, Ground crossing Database, Thailand)
รายงานตามระบบ PAGTH (Port, Airport, Ground crossing Database, Thailand)

27 รายงานการปฏิบัติงานของด่านควบคุมโรค ตามโปรแกรม PAGTH
ข่าวสาร/ สถานการณ์การระบาดของโรค Disease Outbreak News The Disease Daily ข้อมูลด่านควบคุมโรค ข้อมูลทั่วไป สถิติการเดินทางและยานพาหนะ PAGTH ข้อมูลสิ่งแวดล้อมของช่องทาง ข้อมูลการเฝ้าระวังโรค ข้อมูลเฝ้าระวัง ผดท. สงสัยป่วย ข้อมูลเฝ้าระวัง ผดท. พท. ได้รับผลกระทบไข้เหลือง (ต.8) การเตรียมความพร้อม ตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน อื่นๆ ที่ตั้งด่านควบคุมโรค ข้อมูลสมาชิก คู่มือ/เอกสาร รายงาน

28


ดาวน์โหลด ppt ด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google