งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ระบบการตรวจราชการและนิเทศงานกรมอนามัย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ระบบการตรวจราชการและนิเทศงานกรมอนามัย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ระบบการตรวจราชการและนิเทศงานกรมอนามัย
ประจำปีงบประมาณ 2559 นพ.ชัยพร พรหมสิงห์ นายแพทย์ทรงคุณวุฒิ ด้านส่งเสริมสุขภาพ โดย

2 การกำกับติดตาม (Monitoring) ประเมินผล (Evaluation)
ระบบ M&E กรมอนามัย การกำกับติดตาม (Monitoring) ประเมินผล (Evaluation) การรายงาน การประชุม การตรวจราชการ และนิเทศงาน ระดับหน่วยงาน ระดับกรม คอมพิวเตอร์ Manual ประชุมกรม ประชุมติดตาม ผลงาน ระดับ กระทรวง ระดับกรม ประเมินโครงการสำคัญ ของกรม ระดับผลลัพธ์ - วิจัย - จัดเวทีแลกเปลี่ยน เรียนรู้ ประเมินสถานะสุขภาพ ปปช. ตามกลุ่มวัย - Research - Survey - Rapid Survey DOC โครงการ สำคัญ KPI กระทรวง - KPI กรม - โครงการ สำคัญ - การใช้จ่าย งปม. Data Center GFMIS รายเดือน รายไตรมาส รายเดือน ราย 6 เดือน 2 ครั้ง / ปี 2 ครั้ง / ปี 1 ครั้ง / ปี

3 แนวคิดและหลักการ การตรวจราชการ
- การติดตาม ประเมินผลการปฏิบัติราชการของหน่วยงาน และสั่งการให้เป็นไปตามนโยบาย เป้าหมาย แผนงาน กฎหมาย ระเบียบ แบบแผน - ตรวจสอบความเดือดร้อนของประชาชน และสั่งการแก้ไข/บรรเทา ผลกระทบจากการปฏิบัติของรัฐ - สอบหาข้อเท็จจริง/สอบสวน กรณีได้รับการร้องเรียน

4 กรอบประเด็นการตรวจราชการกรณีปกติ ปี 2559
การพัฒนา สุขภาพตามกลุ่มวัย กลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย 1. ระบบเฝ้าระวังมารดาตาย 2. การพัฒนาเด็กปฐมวัย กลุ่มวัยเรียน - ภาวะโภชนาการในเด็กวัยเรียน : (การถ่ายทอดโปรแกรม SKC และการ คัดกรอง ส่งต่อเด็ก) กลุ่มวัยรุ่น - การป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น และการตั้งครรภ์ซ้ำ กลุ่มผู้สูงอายุ-ผู้พิการ - ระบบการดูแลผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพึ่งพิงแบบระยะยาว (Long Term Care) 2. การจัดระบบบริการ Service Plan 3. การจัดบริการ ระบบสนับสนุน 4. กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภค

5 กรอบประเด็นการตรวจราชการกรณีปกติ ปี 2559
1. การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย Service Plan 12 สาขา สาขาที่ 7 : สุขภาพช่องปาก ตัวชี้วัด : ร้อยละ รพ.สต. จัดบริการสุขภาพช่องปาก มีคุณภาพ ครบ 3 องค์ประกอบ ร้อยละ 50 1. อัตราตาย มารดา น้อยกว่า ต่อการเกิดมีชีพ 100,000 คน 2. เด็กที่มีพัฒนาการสมวัย (ไม่น้อยกว่า 85) 3. เด็กนักเรียนมีภาวะอ้วน (ไม่เกิน 15) 4. อัตราการคลอดของหญิงอายุ 15 – 19 ปี ไม่เกิน 50 ต่อ ปชก. 1,000 คน 2. พัฒนาระบบบริการ 3. การจัดบริการ ระบบสนับสนุน 4. กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภค

6 กรอบประเด็นการตรวจราชการกรณีปกติ ปี 2559
1. การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย ผลการดำเนินงาน 10 สาขา 1. บริการ ANC คุณภาพ (ไม่น้อยกว่า 70) 2. รพ.สต/ศสม. ที่ให้บริการสุขภาพช่องปาก เพิ่มขึ้น (ร้อยละ 45) ผลการจัดบริการเฉพาะ 3. WCC คุณภาพ (ไม่น้อยกว่า 70) 4. ศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ (ไม่น้อยกว่า 70) 1. จังหวัดมีระบบและกลไกสนับสนุนการจัดการ มูลฝอยติดเชื้อของ รพ. สังกัดสป.สธ. ให้ถูกต้องตามกฎหมาย 2. จังหวัดมีระบบและกลไกสนับสนุนการจัดการ มูลฝอยทั่วไปของ อปท. ให้ถูกหลักสุขาภิบาล3. อสธจ. มีมติและติดตามมติจากที่ประชุม อสธจ. เพื่อขับเคลื่อนงานอนามัยสิ่งแวดล้อม อย่างน้อย 2 เรื่อง 1. อัตราตาย มารดา น้อยกว่า ต่อการเกิดมีชีพ 100,000 คน 2. เด็กที่มีพัฒนาการสมวัย (ไม่น้อยกว่า 85) 3. เด็กนักเรียนมีภาวะอ้วน (ไม่เกิน 15) 4. อัตราการคลอดของหญิงอายุ 15 – 19 ปี ไม่เกิน 50 ต่อ ปชก. 1,000 คน 2. การจัดระบบบริการ Service Plan 3. พัฒนาระบบบริหารจัดการ 4. พัฒนาระบบสนันสนุนงานด้านสุขภาพ 5. การตรวจราชการแบบบูรณาการ

7 กรอบประเด็นการตรวจราชการกรณีปกติ ปี 2559
การเพิ่มศักยภาพการเก็บและกำจัด 1) โครงการพัฒนาระบบการจัดการขยะให้ถูกสุขลักษณะ 2) โครงการพัฒนาระบบบริหารจัดการขยะติดเชื้อและของเสียทางการแพทย์ให้ถูกสุขลักษณะ 3) โครงการส่งเสริมการจัดการน้ำเสียให้ถูกสุขลักษณะเพื่อลดผลกระทบต่อสุขภาพ 4) โครงการเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพในพื้นที่วิกฤติด้านมลพิษอากาศ 5) โครงการกำกับ ติดตามการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและขยะ 1. การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย ผลการดำเนินงาน 10 สาขา 1. บริการ ANC คุณภาพ (ไม่น้อยกว่า 70) 2. รพ.สต/ศสม. ที่ให้บริการสุขภาพช่องปาก เพิ่มขึ้น (ร้อยละ 45) ผลการจัดบริการเฉพาะ 3. WCC คุณภาพ (ไม่น้อยกว่า 70) 4. ศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ (ไม่น้อยกว่า 70) 1. อัตราตาย มารดา น้อยกว่า ต่อการเกิดมีชีพ 100,000 คน 2. เด็กที่มีพัฒนาการสมวัย (ไม่น้อยกว่า 85) 3. เด็กนักเรียนมีภาวะอ้วน (ไม่เกิน 15) 4. อัตราการคลอดของหญิงอายุ 15 – 19 ปี ไม่เกิน 50 ต่อ ปชก. 1,000 คน - ไม่มีประเด็นที่เกี่ยวข้องกับกรม 2. การจัดระบบบริการ Service Plan 4. พัฒนาระบบสนันสนุนงานด้านสุขภาพสนับสนุน 5. การตรวจราชการแบบบูรณาการร่วมกับสำนักนายกฯ

8 องค์ประกอบผู้ทำหน้าที่ตรวจราชการกรม
1. ผู้ทรงคุณวุฒิกรม หัวหน้าทีม ผอ.สำนัก/กองวิชาการ ผู้เชี่ยวชาญจากส่วนกลาง 2. ผอ.ศูนย์อนามัย 3. ผู้เชี่ยวชาญสายส่งเสริม/ สิ่งแวดล้อม/ทันตแพทย์ เชี่ยวชาญจากศูนย์อนามัย 4. ทีมสนับสนุนวิชาการจากส่วนกลาง/ ศูนย์อนามัย

9 รูปแบบการตรวจราชการระดับกระทรวง
เสนอรายงานต่อปลัดกระทรวงฯ เลขานุการทีมตรวจราชการ (สตป.)  ผู้ทำหน้าที่ตรวจราชการกรม  ทีมสนับสนุนจาก ส่วนกลาง/ ศูนย์อนามัย  ทีมตรวจราชการ ระดับกระทรวง  ผู้ตรวจราชการกระทรวง ประจำเขตสุขภาพ 1-12  หน่วยรับตรวจ ทีมตรวจราชการระดับกระทรวง ผู้ทำหน้าที่ตรวจราชการกรม - รวบรวมรายงาน - สรุปภาพรวมเขต - จัดทำ Executive Summary แจ้งข้อมูลต่อ ผู้ตรวจเขตและ หน่วยรับตรวจ ลงพื้นที่เก็บรวบรวมข้อมูล เตรียมความพร้อมข้อมูลเพื่อนำเสนอผลการตรวจราชการ - รับฟังการนำ เสนอข้อมูลผลการดำเนินงานรายเขต - ให้ข้อเสนอแนะ เชิงนโยบาย จัดทำรายงานผลการตรวจราชการตามแบบ ตก.1 ตก.2 ผู้ทำหน้าที่ตรวจราชการกรม เสนอรายงานต่อผู้บริหารกรม - Copy สรุปรายงานผลการตรวจราชการเฉพาะตัวชี้วัดกรมนำส่งกองแผนงาน ภายใน 7 วัน หลังออกตรวจราชการ แจ้งข้อมูลต่อหน่วยงานเจ้าภาพตัวชี้วัด

10 กำหนดรอบการตรวจราชการ
ตรวจราชการกรณีปกติและบูรณาการ ปีละ 2 รอบ รอบที่ 1 มกราคม – มีนาคม 2559 ธรรมาภิบาล (วิเคราะห์ปัญหา / จัดทำแผนยุทธศาสตร์ ) และติดตามความความก้าวหน้า ปัญหา อุปสรรค ให้ข้อเสนอแนะเพื่อหน่วยรับตรวจนำไป ปรับปรุงแนวทางการดำเนินการ และประมวลสรุปปัญหาและข้อเสนอแนะเชิงนโยบายต่อ ส่วนกลาง และผู้บริหาร รอบที่ 2 มิถุนายน – กันยายน 2559 ติดตามประเมินผลตามประเด็นการตรวจราชการ และ ประมวลสรุปปัญหาและข้อเสนอแนะ เชิงนโยบายต่อส่วนกลาง และผู้บริหาร

11 แนวคิดและหลักการ การนิเทศงานกรมอนามัย
-การติดตาม ประเมินกระบวนการปฏิบัติงานตลอดจนผลลัพธ์ตามภารกิจของหน่วยงาน นโยบาย เป้าหมาย แผนงาน และแนวปฏิบัติ - วิเคราะห์ปัญหาอุปสรรค สาเหตุ ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ให้ข้อเสนอแนะ เพื่อปรับปรุงแก้ไขการปฏิบัติงาน - รายงานผล และข้อเสนอแนะ ไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

12 กรอบการนิเทศงานกรมอนามัย
1) โครงการพระราชดำริ 4 โครงการ 2) โครงการสำหรับประเด็นมุ่งเน้น ของกรมอนามัย 4 โครงการ 1. โครงการสำคัญ ตามนโยบาย 1) ตัวชี้วัดตามข้อตกลงการ ปฏิบัติงาน (Performance Agreement : PA) 10 ตัวชี้วัด 2) งานตามพันธกิจกรมอนามัย 2. ตัวชี้วัดกระทรวง / กรมอนามัย 1) งบประมาณตามหมวดรายจ่าย 2) บุคลากร 3) วัสดุ อุปกรณ์ 3. การบริหารจัดการ (ปัญหา อุปสรรค)

13 องค์ประกอบทีมนิเทศงานกรมอนามัย
1. รองอธิบดีกรมอนามัยที่ได้รับ มอบหมาย หัวหน้าทีม 2. ผู้ทำหน้าที่ตรวจราชการกรม ส่วนกลาง เขต 1-13 3. ผู้อำนวยการสายส่งเสริมสุขภาพ/ อนามัยสิ่งแวดล้อม/ อำนวยการ 4. ผู้ที่หัวหน้าทีมนิเทศพิจารณาให้ร่วม ทีมนิเทศ 5. ผู้อำนวยการกองแผนงาน ทีมเลขานุการ

14 รูปแบบการนิเทศงานกรม
ศูนย์อนามัย และหน่วย รับการนิเทศ ศูนย์อนามัย และหน่วย รับการนิเทศ นำเสนอรายงานต่อผู้บริหารกรม ทีมเลขานุการกองแผนงาน คณะผู้นิเทศ คณะผู้นิเทศ - จัดทำข้อมูลประกอบการนิเทศงาน - เตรียมพื้นที่ เพื่อรับการตรวจเยี่ยม (ถ้ามี) - ศึกษาข้อมูลของหน่วยรับการนิเทศ - เตรียมความพร้อมข้อมูลในเชิงบริหารจัดการ / วิชาการ  บรรยายสรุป/นำเสนอผลการดำเนินงาน - โครงการสำคัญ - ตัวชี้วัด - ภาพรวมการบริหารจัดการ - นิเทศงานตามประเด็นที่รับผิดชอบ - ลงตรวจเยี่ยมพื้นที่ (ถ้ามี) - สรุปผลการนิเทศและจัดทำรายงานตามแบบ นก.1 - รวบรวมข้อมูลตามแบบ นก.1 - วิเคราะห์ข้อมูลและจัดทำสรุป Executive Summary แจ้งปัญหาอุปสรรคข้อเสนอแนะกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

15 กำหนดรอบการนิเทศงานกรมอนามัย
นิเทศงานกรมอนามัยปีละ 2 รอบ รอบที่ 1 มกราคม – กุมภาพันธ์ 2559 รอบที่ 2 พฤษภาคม – มิถุนายน 2559

16 ระบบสนับสนุนการตรวจราชการฯ
มี คกก. ขับเคลื่อนระบบตรวจราชการและนิเทศงานกรม ปี ๕๙ - อธิบดี/รองอธิบดี ที่ปรึกษา - ผู้ทรงคุณวุฒิ /ผอ.สำนัก/กอง/ศูนย์อนามัย คณะทำงาน นักวิชาการส่วนกลาง/กองแผนงาน ๒. ระบบสารสนเทศสนับสนุนการตรวจราชการ - มี website : / เป็นลักษณะ single window และสามารถใช้งานกับ smart phone ทุกประเภท ๓. จัดตั้งกลุ่ม Line ชื่อ : ตรวจ/นิเทศ DOH - เพิ่มช่องทางและสร้างการสนทนา/ส่งข้อมูลหรือข้อความแลกเปลี่ยน ในกลุ่มโดยเฉพาะการตรวจราชการ ๔. จัดตั้งกลุ่ม Facebook ชื่อ : ตรวจราชการนิเทศงานกรมอนามัย - เพื่อประชาสัมพันธ์ข่าวสาร และใช้ทำกิจกรรม ตลอดจนรูปภาพ ร่วมกับกลุ่มผู้ทำหน้าที่ตรวจกรมและผู้เกี่ยวข้อง ๕. ระบบข้อมูลการเฝ้าระวังของศูนย์อนามัย เพื่อชี้เป้าสถานการณ์ในพื้นที่

17 เว็บไซต์ : ระบบสารสนเทศสนับสนุนการตรวจราชการ

18 กลุ่ม Line ชื่อ : ตรวจ/นิเทศ DOH

19 กลุ่ม Facebook ชื่อ : ตรวจราชการนิเทศงานกรมอนามัย

20 ขอบคุณครับ


ดาวน์โหลด ppt ระบบการตรวจราชการและนิเทศงานกรมอนามัย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google