งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ประเด็นและแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 ปีงบประมาณ 2560 การส่งเสริม สุขภาพ ป้องกันโรค และการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ประเด็นและแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 ปีงบประมาณ 2560 การส่งเสริม สุขภาพ ป้องกันโรค และการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ประเด็นและแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 ปีงบประมาณ การส่งเสริม สุขภาพ ป้องกันโรค และการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ

2 คณะกรรมการกำหนดแผนและติดตามผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ คณะที่ 1 การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ 1. นายแพทย์ธเรศ กรัษนัยรวิวงค์ ผู้ตรวจราชการกระทรวง เขตสุขภาพที่ 6 ประธาน 2. นายแพทย์โอภาส การย์กวินพงศ์ ผู้ตรวจราชการกระทรวง เขตสุขภาพที่ 3 รองประธาน 3. แพทย์หญิงพรรณพิมล วิปุลากร ผู้ตรวจราชการกระทรวง เขตสุขภาพที่ 12 4. นายแพทย์อภิชาติ รอดสม สาธารณสุขนิเทศก์ เขตสุขภาพที่ 6 5. นายแพทย์ไพศาล ธัญญาวินิจกุล สาธารณสุขนิเทศก์ เขตสุขภาพที่ 1 6. นายแพทย์ยุทธนา พูนพานิช สาธารณสุขนิเทศก์ เขตสุขภาพที่ 9 7. นายแพทย์ยอร์น จิระนคร สาธารณสุขนิเทศก์ เขตสุขภาพที่ 12 และคณะ

3 ความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุขกับการตรวจราชการ ปี 2560
ตรวจราชการปี59 ตรวจราชการปี60 ยุทธศาสตร์ กสธ. คณะ 1 การดูแลสุขภาพกลุ่มวัย ระบบควบคุมโรค คณะ 1 การส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรค และคุ้มครองผู้บริโภค PP Excellence คณะ 2 Service Plan 12 สาขา Service Excellence คณะ 2 การพัฒนาระบบบริการ คณะ 3 ระบบบริหารจัดการ การเงินการคลัง ยา - เวชภัณฑ์ไม่ใช่ยา พัฒนาบุคลากร ธรรมาภิบาล คณะ 3 การบริหารทรัพยากรมนุษย์ People Excellence คณะ 4 ระบบสนับสนุนด้านสุขภาพ คบ.ด้านอาหาร/ผลิตภัณฑ์สุขภาพ คบ.ด้านสิ่งแวดล้อม คณะ 4 การบริหารจัดการ Governance Excellence คณะ 5 ตรวจบูรณาการ ขยะ / อุบัติเหตุ คณะ 5 ตรวจบูรณาการ (ขยะ)

4 กรอบการตรวจราชการประจำปี 2560
คณะ 1 การส่งเสริม สุขภาพ ป้องกันโรค และการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ คณะ 2 การพัฒนาระบบบริการ คณะ 3 การบริหารทรัพยากรมนุษย์ คณะ 4 การบริหารจัดการ คณะ 5 ตรวจราชการแบบบูรณาการ 17 KPIs 17 KPIs 3 KPIs 6 KPIs รวมตัวชี้วัดตรวจราชการ 43 KPIs

5 4 แผนงาน 12 โครงการ คณะที่ 1 การส่งเสริม สุขภาพ ป้องกันโรคและ
การคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ 4 แผนงาน 12 โครงการ แผนงานที่ 1 : การพัฒนาคุณภาพชีวิตคนไทยทุกกลุ่มวัย ด้านสุขภาพ (4 โครงการ) 1. โครงการพัฒนาและสร้างเสริมศักยภาพคนไทยกลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย 2. โครงการพัฒนาและสร้างเสริมศักยภาพคนไทยกลุ่มวัยเรียนและวัยรุ่น 3. โครงการพัฒนาและสร้างเสริมศักยภาพคนไทยกลุ่มวัยทำงาน 4. โครงการพัฒนาและสร้างเสริมศักยภาพคนไทยกลุ่มวัยผู้สูงอายุ แผนงานที่ 2 : การป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ (3 โครงการ) แผนงานที่ 3 : การลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ (3 โครงการ) แผนงานที่ 4 : การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม (2 โครงการ)

6 คณะ 1 การส่งเสริม สุขภาพ ป้องกันโรค และการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ
17 KPIs 1. อัตราส่วนการตายมารดา 2. เด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย 3. ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน และส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 5 ปี 4. เด็กวัยเรียนสูงดีสมส่วน 5. เด็กกลุ่มอายุ 0-12 ปีฟันดีไม่มีผุ (cavity free) 6. อัตราการตั้งครรภ์ในหญิงอายุ ปี 7. Long Term Care =PA 8.ร้อยละ 80 ขอจังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริง 9.อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ำ 10.อัตราการเสียชีวิตจาก การจมน้ำ 11.อัตราการเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน 12.อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและ/หรือเบาหวานรายใหม่ 13.ร้อยละของผลิตภัณฑ์ อาหารสดและอาหารแปรรูปมีความปลอดภัย 14.ร้อยละของผู้ป่วย ยาเสพติดที่หยุดเสพต่อเนื่อง 3 เดือน หลังจำหน่ายจากการบำบัดรักษาตามเกณฑ์กำหนด 15. ร้อยละของผลิตภัณฑ์สุขภาพ ที่ได้รับการตรวจสอบได้ มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด 16.ร้อยละของสถานพยาบาลและ สถานประกอบการเพื่อสุขภาพได้รับการตรวจสอบมาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด 17. ร้อยละของโรงพยาบาลที่พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ GREEN& CLEAN Hospital แผนงาน 1 พัฒนาคุณภาพชีวิต ทุกกลุ่มวัย แผนงาน 2 ป้องกันควบคุมโรค และภัยสุขภาพ แผนงาน 3 ลดปัจจัยเสี่ยง ด้านสุขภาพ แผนงาน 4 บริหารจัดการ สิ่งแวดล้อม

7 คณะที่ 1 PIRAB From womb to tomb 0-5 ปี หญิงตั้งครรภ์ วัยเรียน วัยรุ่น
ปี มีพัฒนาการสมวัย 0-5 ปี ปี สูงดีสมส่วน และส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 5 ปี 1.อัตราส่วนการตายมารดา หญิงตั้งครรภ์ 4. เด็กวัยเรียน สูงดีสมส่วน วัยเรียน ปีฟันดีไม่มีผุ 10. การจมน้ำของเด็กอายุ น้อยกว่า 15 ปี PIRAB วัยรุ่น 6. คลอดมีชีพในหญิงอายุ ปี 9. ตำบลที่มีระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care) 11.อัตราการเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน ผู้สูงอายุ วัยทำงาน 12.อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและ/หรือเบาหวานรายใหม่

8 P I R A B คณะที่ 1 ระดับเขตสุขภาพ ระดับจังหวัด ตำบล จัดการสุขภาพ
13.ร้อยละของผลิตภัณฑ์อาหารสดและอาหารแปรรูปมีความปลอดภัย ระบบสุขภาพระดับอำเภอ DHS 15.ร้อยละของผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้รับการตรวจสอบได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด 8.ร้อยละของจังหวัดมี EOCและ SAT ที่สามารถปฏิบัติงาน ได้จริง ตำบล จัดการสุขภาพ 16.ร้อยละของสถานพยาบาลและสถานประกอบการเพื่อสุขภาพได้รับการตรวจสอบมาตรฐานตามเกณฑ์ 9.อัตราความสำเร็จ การรักษาผู้ป่วย วัณโรค 14.ร้อยละผู้ป่วย ยาเสพติดที่หยุดเสพต่อเนื่อง 3 เดือน 17. ร้อยละของโรงพยาบาลที่พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ GREEN&CLEAN Hospital ระบบจัดการสุขภาพในพื้นที่ การคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ และสิ่งแวดล้อม

9 หญิงตั้งครรภ์ คณะที่ 1 แหล่งข้อมูล 1
Lag : 1) อัตราส่วนการตายมารดาไทยไม่เกิน 15 ต่อการเกิดมีชีพแสนคน (เป้าหมายปี 60 ไม่เกิน 20 ) กรมอนามัย จำนวนมารดาตายระหว่างการตั้งครรภ์ (ภายใน 42 วัน) ทุกสาเหตุยกเว้นอุบัติเหตุ X 100,000 จำนวนการเกิดมีชีพทั้งหมดในช่วงเวลาเดียวกัน ฐานข้อมูลการตายจากทะเบียนราษฎร์ แหล่งข้อมูล โรงพยาบาล สำรวจการตายมารดา กรมอนามัย (รายงาน CE)

10 เด็ก 0-5 ปี คณะที่ 1 แหล่งข้อมูล 2
2) ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย (ร้อยละ 80) กรมอนามัย จำนวนเด็กอายุ 9,18,30,42เดือนพัฒนาการสมวัย (รวมถึงพัฒนาการล่าช้าที่ได้รับการกระตุ้น และผ่านเกณฑ์) X 100 จำนวนเด็กอายุ 9,18,30,42เดือน ที่ได้รับการตรวจพัฒนาการ หน่วยบริการ แหล่งข้อมูล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด

11 เด็ก 0-5 ปี คณะที่ 1 แหล่งข้อมูล 3
3) ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน และส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 5 ปี (ร้อยละ 51)(ช113/ญ112) กรมอนามัย จำนวนเด็กอายุ 0-5ปีสูงดีสมส่วน X 100 จำนวนเด็กอายุ 0-5ปีที่ได้รับการชั่ง นน.และวัดส่วนสูงทั้งหมด ผลรวมส่วนสูงชายอายุ 5 ปีที่วัดส่วนสูง X 100 ชายอายุ 5 ปีที่ได้วัดส่วนสูงทั้งหมด ผลรวมส่วนสูงหญิงอายุ 5 ปีที่วัดส่วนสูง X 100 หญิงอายุ 5 ปีที่ได้วัดส่วนสูงทั้งหมด แหล่งข้อมูล สถานบริการ(คลินิกเด็กดี)/ศูนย์เด็กเล็ก/หมู่บ้าน

12 เด็กวัยเรียน คณะที่ 1 แหล่งข้อมูล 4
2) ร้อยละของเด็กวัยเรียน สูงดีสมส่วน (ร้อยละ 66) กรมอนามัย จำนวนเด็กอายุ 6-14 ปีสูงดีสมส่วน X 100 จำนวนเด็กอายุ 6-14 ปีที่ได้รับการชั่งนน.และวัดส่วนสูงทั้งหมด รายงาน HDC สนย. แหล่งข้อมูล สุ่มสำรวจภาวะโภชนาการร่วมกับ สำรวจทันตสุขภาพในเด็กอายุ 0-12 ปี

13 เด็กวัยเรียน คณะที่ 1 แหล่งข้อมูล 5
4) ร้อยละของเด็กกลุ่มอายุ 0-12 ปีฟันดีไม่มีผุ (cavity free) (ร้อยละ 52) กรมอนามัย จำนวนเด็กกลุ่มอายุ 12 ปีฟันดีไม่มีผุ X 100 จำนวนเด็กกลุ่มอายุ 12 ปีทั้งประเทศ ฐานข้อมูล 43 แฟ้ม รวบรวมโดย สนย. แหล่งข้อมูล ระบบเฝ้าระวังทันตสุขภาพ (ท.02)

14 เด็กวัยเรียน คณะที่ 1 แหล่งข้อมูล 10
Lag : 1) อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุน้อยกว่า 15 ปี (ไม่เกิน 5 ต่อแสนประชากร) กรมควบคุมโรค จำนวนเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปีที่เสียชีวิตจากการจมน้ำ X จำนวนประชากรกลางปีของเด็กอายุตำกว่า15 ปี ข้อมูลการตาย ฐานข้อมูลทะเบียนราษฏร์ของกระทรวงมหาดไทย โดย สนย. แหล่งข้อมูล ฐานข้อมูล 43 แฟ้ม

15 วัยรุ่น คณะที่ 1 แหล่งข้อมูล 6 5) อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19 ปี
(ไม่เกิน 42 ต่อพันประชากร) กรมอนามัย จำนวนการคลอดมีชีพโดยหญิงอายุ ปี (ทะเบียนเกิด) X 1000 จำนวนหญิงอายุ ปี ทั้งหมด (จำนวนประชากรกลางปีจากฐานข้อมูลทะเบียนราษฏร์) ฐานข้อมูลการเกิดมีชีพจาดทะเบียนราษฏร์กรมการปกครอง ของกระทรวงมหาดไทย แหล่งข้อมูล

16 วัยทำงาน คณะที่ 1 แหล่งข้อมูล 11
2) อัตราการเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน (ลดลง 14% จากปี 2554)(ไม่เกิน 18 ต่อแสนประชากร) กรมควบคุมโรค จำนวนผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน(V01-V89) ปีงบประมาณ ปีงบประมาณ2554 X 100 จำนวนผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน(V01-V89)ทั้งหมดของปีงบประมาณ2554 (based line) บูรณาการข้อมูล 3 ฐาน ฐานข้อมูลการตาย มรณบัตร มหาดไทย ผ่าน สนย. แหล่งข้อมูล ระบบ POLIS ของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ระบบ e-claim บรัษัทกลางคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ

17 วัยทำงาน คณะที่ 1 แหล่งข้อมูล
12 ลดจำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและ/หรือเบาหวานรายใหม่ลงเมื่อเทียบกับปี 2559 (HT ลดลงร้อยละ 2.5 / DMลดลงร้อยละ 5 ) กรมควบคุมโรค ฐานข้อมูล ปี ผู้ป่วยความดันโลหิต 400,000 คน - ผู้ป่วยเบาหวาน ,000 คน เป้าหมาย ปี ผู้ป่วยความดันโลหิต 390,000 คน - ผู้ป่วยเบาหวาน ,000 คน แหล่งข้อมูล ฐานข้อมูล HDC ของ Data Center จังหวัด

18 ผู้สูงอายุ คณะที่ 1 แหล่งข้อมูล 7
Lead : 1) ร้อยละของตำบลที่มีระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care) ในชุมชน ผ่านเกณฑ์ (ร้อยละ 50) กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ/ กรมอนามัย/กรมการแพทย์ จำนวนตำบลที่มีระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุ ระยะยาว (Long Term Care) ในชุมชน ผ่านเกณฑ์ X 100 จำนวนตำบลทั้งหมดที่เข้าร่วมโครงการพัฒนาระบบการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในพื้นที่ตำบล (Long Term Care) แหล่งข้อมูล แบบประเมินตามองค์ประกอบ

19 คณะที่ 1 ระบบการจัดการสุขภาพในพื้นที่ แหล่งข้อมูล 8
Lead : 1) ร้อยละของจังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริง (ร้อยละ 80) กรมควบคุมโรค จำนวนจังหวัดที่มี EOC และ SAT ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริง X 100 จำนวนจังหวัดทั้งหมด แหล่งข้อมูล แบบประเมินผลการดำเนินงานในระดับจังหวัด

20 คณะที่ 1 ระบบการจัดการสุขภาพในพื้นที่ แหล่งข้อมูล 9
Lead : 1) อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ำ (ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 85) กรมควบคุมโรค จำนวนผู้ป่วยวัณโรครายใหม่/กลับเป็นซ้ำที่มีผลการรักษา หาย+รักษาครบที่ขึ้นทะเบียน* X 100 จำนวนผู้ป่วยวัณโรครายใหม่/กลับเป็นซ้ำทุกกลุ่มที่ขึ้นทะเบียน* * ตุลาคม-ธันวาคม59 แบบรายงาน TB 08 ระบบรายงานอิเลคทรอนิกส์รายบุคคล แหล่งข้อมูล โปรแกรมบริหารจัดการผู้ป่วยวัณโรค (TBCM 2010) โปรแกรม TBCM online

21 ระบบการจัดการสุขภาพในพื้นที่
คณะที่ 1 ระบบการจัดการสุขภาพในพื้นที่ 14 Lag: 1) ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดที่หยุดเสพต่อเนื่อง 3 เดือน หลังจำหน่ายจากการบำบัดรักษาตามเกณฑ์กำหนด (ร้อยละ 92) กรมการแพทย์ จำนวนผู้ป่วยยาเสพติดที่เข้ารับการบำบัดรักษาและหยุดเสพต่อเนื่อง 3 เดือนหลังจากรับการบำบัดรักษา X 100 จำนวนผู้ป่วยยาเสพติดที่เข้ารับการบำบัดรักษาและได้รับการจำหน่ายตามเกณฑ์ที่กำหนด รายงานการบำบัดรักษายาเสพติดของประเทศ (บสต.) แหล่งข้อมูล

22 คณะที่ 1 13 Lead : 1) ร้อยละของผลิตภัณฑ์อาหารสดและอาหารแปรรูปมีความปลอดภัย (ร้อยละ 80) สนง.คณะกรรมการอาหารและยา จำนวนของผลิตภัณฑ์ที่ผลวิเคราะห์ผ่านมาตรฐานตามเกณฑ์ X 100 จำนวนของผลิตภัณฑ์ที่เก็บตัวอย่างเพื่อตรวจวิเคราะห์ทั้งหมด ข้อมูลจาก สำนักอาหาร อย. แหล่งข้อมูล ข้อมูลจาก หน่วยเคลื่อนที่เพื่อความปลอดภัยด้านอาหาร / สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด

23 คณะที่ 1 15 Lead : 1) ร้อยละของผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้รับการตรวจสอบได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด (ร้อยละ 95) สนง.คณะกรรมการอาหารและยา จำนวนของผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้มาตรฐานตามเกณฑ์ X 100 จำนวนของผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ตรวจสอบทั้งหมด รายงานผลการเฝ้าระวัง ของ อย. แหล่งข้อมูล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด รายงานผลในระบบ Dashboard ของกระทรวงสาธารณสุขทุกไตรมาส

24 คณะที่ 1 1 2 แหล่งข้อมูล 16 2) ร้อยละของสถานพยาบาล(ร้อยละ 100)
และสถานประกอบการเพื่อสุขภาพ(ร้อยละ 60) ได้รับการตรวจสอบมาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด (รวมร้อยละ 80) กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ จำนวนสถานพยาบาลที่ผ่านเกณฑ์ตามกฎหมาย X 100 สถานพยาบาลที่ขึ้นทะเบียนทั้งหมด 1 จำนวนสถานประกอบการเพื่อสุขภาพที่ผ่านเกณฑ์ตามกฎหมาย X 100 สถานประกอบการเพื่อสุขภาพที่ยื่นขอใบอนุญาต 2 ข้อ 1 + ข้อ 2 X 100 2 แหล่งข้อมูล กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

25 คณะที่ 1 17 Lead : 1) ร้อยละของโรงพยาบาลที่พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ GREEN&CLEAN Hospital (ร้อยละ 75) กรมอนามัย/กรมควบคุมโรค จำนวนโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขที่ ดำเนินกิจกรรม GREEN&CLEAN ตามที่กำหนด X 100 จำนวนโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขทั้งหมด แหล่งข้อมูล โรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข

26 ลำดับ ตัวชี้วัด เป้าหมาย 1 Lag : 1) อัตราส่วนการตายมารดาไทยไม่เกิน 15 ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 20 ต่อแสน 2 2) ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 80 3 3) ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน และส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 5 ปี ร้อยละ 51 4 2) ร้อยละของเด็กวัยเรียน สูงดีสมส่วน ร้อยละ 66 5 4) ร้อยละของเด็กกลุ่มอายุ 0-12 ปีฟันดีไม่มีผุ (cavity free) ร้อยละ 52 6 5) อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ ปี 42 ต่อพัน 7 Lead : 1) ร้อยละของตำบลที่มีระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care) ในชุมชน ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 50 8 Lead : 1) ร้อยละของจังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริง 9 Lead : 1) อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ำ ร้อยละ 85 10 Lag : 1) อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุน้อยกว่า 15 ปี 5 ต่อแสน 11 2) อัตราการเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน 18 ต่อแสน 12 3) อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและ/หรือเบาหวานรายใหม่ HT 390,000 DM 190,000 13 Lead : 1) ร้อยละของผลิตภัณฑ์อาหารสดและอาหารแปรรูปมีความปลอดภัย 14 Lag: 1) ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดที่หยุดเสพต่อเนื่อง 3 เดือน หลังจำหน่ายจากการบำบัดรักษาตามเกณฑ์กำหนด ร้อยละ 92 15 Lead : 1) ร้อยละของผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้รับการตรวจสอบได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด ร้อยละ 95 16 2) ร้อยละของสถานพยาบาลและสถานประกอบการเพื่อสุขภาพ ได้รับการตรวจสอบมาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด รวมร้อยละ 80 17 Lead : 1) ร้อยละของโรงพยาบาลที่พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ GREEN&CLEAN Hospital ร้อยละ 75

27 ...เปลี่ยนโทมนัส ให้เป็น พลังความดี...


ดาวน์โหลด ppt ประเด็นและแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 ปีงบประมาณ 2560 การส่งเสริม สุขภาพ ป้องกันโรค และการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google