ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

นักวิชาการสาธารณสุข ๙ ชช ศูนย์อนามัยที่ ๑๐ ชึชียงใหม่
การดำเนินงานลดขั้นตอนและระยะเวลาให้บริการ (ตัวชี้วัดที่ 9)
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
โครงการพัฒนาศักยภาพ เครือข่าย เจ้าพนักงานตามกฎหมาย การสาธารณสุข ( ปี 2551) โดย ศูนย์บริหารกฎหมาย สาธารณสุข และศูนย์อนามัยที่
1. 2 วาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ วาระที่ 2 รับรองรายงานการประชุมครั้งที่ 2/2552 เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2552 วาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ.
TQA ในกลุ่ม พสว. หน่วยงานย่อย : - ส่งเสริมสุขภาพตามกลุ่มอายุ 4 งาน
ผอ. สำนักควบคุมและ ตรวจสอบอาคาร (1/1) สำนักงานคณะกรรมการ ควบคุมอาคาร ข้าราชการ พนักงานราชการ 66 ลูกจ้างประจำ 11 กลุ่มงานควบคุม โรงมหรสพ ข้าราชการ.
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
แผนการดำเนินงานปี 2558 กลุ่มโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค ด้านสุขภาพ (ปรับปรุง )
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
แนวทางการบริหารจัดการเขต พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษโดย สหกรณ์ นายเชิดชัย พรหมแก้ว ผู้อำนวยการกองพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตร และกลุ่มเกษตรกร กรมส่งเสริมสหกรณ์ วันที่
ศูนย์บริหารกฎหมาย สาธารณสุข แนวทางการสนับสนุน การดำเนินงานคณะอนุกรรมการ สาธารณสุขจังหวัด (อสธจ.)
วิสัยทัศน์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ สิ่งสำคัญที่ต้องทำ ให้บรรลุ เพื่อตอบสนอง วิสัยทัศน์ เป้าประสง ค์ หลัก ประสิทธิภ าพ ผลสำเร็จ สูงสุดของ องค์กรซึ่ง ประชาชน.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
ข้อมูลทั่วไป จังหวัดศสม.รพสต.กองทุน สุขภาพตำบล สุขศาลา/ ศสมช. (ผ่าน3หมวด) อสม. ร้อยเอ็ด ,887 ขอนแก่น ,600 มหาสารคาม ,524.
ทิศทางการนำระบบบริหาร จัดการคลังข้อสอบ และการทดสอบมาตรฐานฝีมือ แรงงาน ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์สู่หน่วย ปฏิบัติ โดย วรรณี โกมลกวิน ผู้อำนวยการกลุ่มงานกำหนด.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
เยี่ยมเสริมพลัง การจัดการความรู้ วันที่ 14 ก. ย
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพ แบบบูรณาการ เขตสุขภาพที่ 6
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
ประชุมคณะกรรมการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย มุ่งสู่การเป็นองค์การสมรรถนะสูง (HPO) ตามแนวทางการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) ครั้งที่ 1 11 ตุลาคม.
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
EB9 หน่วยงานของท่านมีการดำเนินการเพื่อป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนในหน่วยงานอย่างไร (1) มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับการปฏิบัติงานที่อาจเกิดผลประโยชน์ทับซ้อน.
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ข้อเสนอ การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
ด้านสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
“ความร่วมมือในการขับเคลื่อนงาน คสจ. และ พชอ.”
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
แบบฟอร์มที่ 2ลักษณะสำคัญขององค์การ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข ทิศทางการดำเนินงาน ปี 2552 ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข โดย นายศุมล ศรีสุขวัฒนา ผู้อำนวยการศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข กรมอนามัย

วิสัยทัศน์กรมอนามัย “เป็นองค์กรหลัก ด้านกฎหมายสาธารณสุข เพื่อการคุ้มครองสุขภาพของประชาชนด้านส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม” องค์กรหลัก เป็นแกนกลางในการปรับปรุงแก้ไขและพัฒนากฎหมายสาธารณสุข 1 เป็นแกนกลางในการสร้างหลักประกันความเป็นธรรมในการบังคับใช้กฎหมายการ สธ. 6 เป็นแกนกลางในการสนับสนุน และ การพัฒนาศักยภาพ เจ้าพนักงานในการบังคับใช้กฎหมาย สธ. 3 ที่ปรึกษาหารือให้กับอปท. และหน่วยงาน ผปก. และ ปชช. ที่เกี่ยวข้องด้านกฎหมาย สธ. 4 เป็นแกนกลางในการผลักดันให้ คกก.สธ.สามารถติดตาม กำกับและพัฒนาการบังคับใช้กฎหมายสาธารณสุข 5 เป็นแกนกลางการพัฒนาองค์ความรู้และแนวทางการปฏิบัติด้านกฎหมาย และเป็นศูนย์ข้อมูล 2

4 2 3 1 รัฐมนตรี กรมอนามัย คณะกรรม การ สธ . สำนัก ว กอง สอ สช & HIA • สิ่งปฏิกูล / มูลฝอย สุขลักษณะอาคาร เหตุรำคาญ ควบคุมการเลี้ยงสัตว์ กิจการที่เป็นอันตรายฯ กิจการตลาด กิจการจำหน่าย สะสมอาหาร การจำหน่ายสินค้า แผงลอย รัฐมนตรี กรมอนามัย คณะกรรม การ สธ . สำนัก ว กอง สอ สช & HIA ศูนย์ กม Lab อ .1 - 12 นโยบาย มาตรการ กฎ ประกาศฯ คำแนะนำฯ พัฒนาหลักเกณฑ์ มาตรฐาน วิธีการตรวจ ตาม พ ร บ ราชการส่วนท้องถิ่น จพง ท้องถิ่น สาธารณสุข ( สสจ สสอ .) ออกข้อกำหนดฯ อนุญาต ไม่อนุญาต ออกคำสั่งแก้ไข พักใช้ ดำเนินคดี ถ้าดื้อแพ่ง ) บังคับใช้ สภาวะความเป็นอยู่ที่ เหมาะสมกับการดำรงชีพ ของประชาชน เสนอร่าง บทบาทอำนาจหน้าที่ของ กรมอนามัยตาม พรบ พัฒนาศักยภาพ ให้คำปรึกษา สอดส่อง ดูแล 3 2 1 พิจารณา อุทธรณ์ 4

ระบบกลไกการดำเนินการด้านกฎหมาย สธ. เฝ้าระวัง บ่งชี้ปัญหา สถานการณ์ปัญหาที่เกิด ขึ้นจริง นโยบายจาก รมต./ผู้บริหาร Surveillance ข้อเสนอเชิงนโยบายที่เป็นทางเลือกในการจัดการ กระบวนการส่งเสริมพัฒนา การตัดสินใจของ ผู้บริหารกรมอนามัย นำเข้าสู่ กระบวนการทางกฎหมาย ข้อมูลทางวิชาการ สถานการณ์ปัญหา แนวทางการดำเนินการ ข้อเสนอเชิงมาตรการ R&D เสนอคณะ กก.สธ. แต่งตั้ง คณะอนุฯ ประชาวิจารณ์เวทีสาธารณะ การประชุมชี้แจง กฎ/ประกาศ กระทรวง คำ แนะนำ นโยบาย/มาตรการ การประชุมชี้แจง การสนับสนุน Transfer กระบวนการสื่อสาร อปท. / สสจ. M&E การติดตามกำกับ

บทบาทของแต่ละหน่วยงานในการส่งเสริม การใช้มาตรการด้านกฎหมาย ขั้นตอน สำนัก/กอง วิชาการ ศกม. 1) การบ่งชี้ปัญหา/ประเด็น 1) เฝ้าระวังและเสนอประเด็นปัญหาที่จะดำเนินการ 1) บ่งชี้ปัญหาด้านการใช้กฎหมายของ อปท./สสจ. 2) การตัดสินใจ 2) เสนอเรื่องต่อผู้บริหาร 2) ร่วมเสนอความเห็น 3) การจัดทำมาตรการ 3) เป็นฝ่ายเลขาฯอนุ กก. -ข้อมูลทางวิชาการ -สถานการณ์ปัญหา -แนวทางการดำเนินการ -ข้อเสนอเชิงมาตรการ 3.1 จัดรับฟังความเห็น SH. 3) เป็นฝ่ายเลขาฯบางคณะและ ร่วมเป็นอนุ กก.ในคณะวิชาการ 4) การจัดทำร่างกฎหมาย/คำแนะนำ 4) สนับสนุนเนื้อหาทางวิชาการที่จะกำหนดในร่าง 4) รับผิดชอบในการจัดทำร่างเสนอคณะ กก.สธ. 5.1) กรณีเป็นกฎกระทรวง 5.1) ร่วมชี้แจงต่อ รมต./ครม./คณะกฤษฎีกา 5.1) ร่วมชี้แจงในประเด็นข้อกฎหมาย ศูนย์ อ.

บทบาทของแต่ละหน่วยงานในการส่งเสริม การใช้มาตรการด้านกฎหมาย ขั้นตอน สำนัก/กอง วิชาการ ศกม. 5.2) กรณีประกาศ /คำแนะนำ 5.2) สรุปเนื้อหาทางวิชาการให้ ศกม. 5.2) ดำเนินการเสนอลงนาม ประกาศใช้/ส่งต่ออปท./สสจ.แล้วแต่กรณี 6) การสื่อสารผู้เกี่ยวข้อง 6.1) – 6.2) ร่วมประชุมชี้แจงต่อกลุ่มเป้าหมาย 6.1) จัดทำเอกสารสื่อสารผ่าน ผู้ว่าฯถึง อปท./สสจ. 6.2) กรณีจำเป็นจัดประชุมชี้แจงเบื้องต้นด้าน กม. 7) การสนับสนุน 7) การสนับสนุนทางวิชาการ (คู่มือ/หลักเกณฑ์/วิธีการตรวจสอบ/วิเคราะห์) 7) สนับสนุนด้านการบังคับใช้ในทางปฏิบัติ(ออกข้อบัญญัติ/คำสั่ง/ทำคดี) 8) การติดตามกำกับ 8) ติดตามกำกับในประเด็นปัญหา/ข้อเสนอแนะใหม่ 8) ติดตามกำกับเรื่องการบังคับใช้ กม. ศูนย์ อ.

งานตามพันธกิจ ประเด็นยุทธศาสตร์ VISION : เป็นองค์กรหลักด้านกฎหมายสาธารณสุข เพื่อการคุ้มครองสุขภาพของประชาชน ด้านส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม Strategy Map ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข Goals : ประชาชนมีพฤติกรรมเหมาะสมตามกลุ่มวัยและอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพดี ประเด็นยุทธศาสตร์ งานตามพันธกิจ พัฒนาชุมชนและท้องถิ่น น่าอยู่ ประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ 7.1 ความสำเร็จของการใช้มาตรการด้านกฎหมายสาธารณสุข/ผลสำเร็จตามพันธกิจของหน่วยงาน/นโยบายที่สำคัญของกรมอนามัย Results 7.2 เครือข่ายและเจ้าพนักงานระดับพื้นที่มีศักยภาพในการบังคับใช้กฎหมายสาธารณสุข 7.3 มีการพัฒนาองค์ความรู้ ด้านกฎหมายสาธารณสุข ให้เหมาะสมและสอดคล้องกับสภาวะปัจจุบัน 7.4 พัฒนาองค์กรสู่ความเป็นเลิศ (High performance) พัฒนาระบบการพิจารณาอุทธรณ์เพื่อให้อปท.มีการบังคับใช้กฎหมายที่ถูกต้องและประชาชนได้รับการคุ้มครอง ถ่ายทอดและพัฒนาศักยภาพ จพง. และสร้างระบบการตอบข้อหารือและศูนย์ข้อมูลให้กับ อปท .และหน่วยงาน ผปก./ปชช. พัฒนาผลักดันให้คณะ กรรมการ สธ. ติดตาม กำกับ&พัฒนาการบังคับใช้กฎหมาย สธ. และยกร่างกฎหมายตามความจำเป็นของสังคมและท้องถิ่น พัฒนาองค์ความรู้ แนวทางปฏิบัติ การบังคับใช้กฎหมายสาธารณสุข System การพัฒนา สนับสนุนองค์กรและการบริหารจัดการตามเกณฑ์ PMQA 7 หมวด Driver การพัฒนาระบบสารสนเทศ/การสื่อสาร การจัดทำแผนพัฒนาองค์กร/แผนปฏิบัติการและ การถ่ายทอดเป้าหมาย การพัฒนาบุคลากรรองรับภารกิจ/ยุทธศาสตร์ การเรียนรู้ความต้องการของผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

ประเด็นยุทธศาสตร์พัฒนาชุมชนและท้องถิ่นน่าอยู่ โครงการพัฒนาศักยภาพและสร้างภาคีเครือข่ายเจ้าพนักงานตามกฎหมายสาธารณสุขในระดับพื้นที่ 1. การพัฒนาศักยภาพของเครือข่ายเจ้าพนักงานระดับพื้นที่(จังหวัด) 2. การพัฒนาพื้นที่ต้นแบบการใช้มาตรการด้านกฎหมายสาธารณสุข 3. การประเมินการบังคับใช้กฎหมายสาธารณสุขขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 4. การพัฒนาขีดความสามารถเจ้าหน้าที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการบังคับใช้กฎหมายสาธารณสุข พัฒนาองค์ความรู้ 1 เรื่อง 1. การจัดทำแนวทางข้อกฎหมายและคู่มือสำหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น การจัดทำฐานข้อมูล 1 ฐานข้อมูลด้านกฎหมายสาธารณสุข 2. ฐานข้อมูลสิ่งปฏิกูลและมูลฝอยตามกฎหมายสาธารณสุข ดำเนินการต่อเนื่องจากปี 2551 (นำร่อง ศอ.ละ 1 จังหวัด) ปี 2552 ดำเนินการให้ครบทุกจังหวัด

ประเด็นยุทธศาสตร์ประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ พัฒนาองค์ความรู้ 1 เรื่อง 1. โครงการศึกษาพัฒนาการประยุกต์ใช้ HIA ในการดำเนินงานตามกฎหมายสาธารณสุข 1.1 การประยุกต์ใช้ HIA ในการออกข้อบัญญัติท้องถิ่น (ดำเนินการปี 52-53) 1.2 การพัฒนารูปแบบในการอนุญาตให้ประกอบกิจการ (ดำเนินการปี 53-54) ทดลองดำเนินการในพื้นที่ อปท.นำร่อง

งานตามพันธกิจที่สนับสนุนประเด็นยุทธศาสตร์ การจัดทำแผนพัฒนากฎหมายและแผนนิติบัญญัติ (พรบ.สธ. กฎกระทรวง) การดำเนินงานของคณะกรรมการสาธารณสุข (ประชุมคกก.สธ./อนุกรรมการชุดต่างๆ) การพิจารณาข้อเท็จจริงต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข เพื่อวินิจฉัยอุทธรณ์ตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535 การพัฒนาองค์ความรู้ด้านกฎหมายสาธารณสุข สนับสนุนวิทยากร/การให้คำปรึกษาหารือด้านกฎหมายสาธารณสุข การผลิตสื่อ คู่มือ / CD-Rom

การพัฒนาองค์กร การพัฒนาระบบงานและสารสนเทศ/จัดการความรู้ การถ่ายทอดเป้าหมายองค์กรสู่กลุ่ม/ฝ่าย พัฒนาระบบการเรียนรู้ความต้องการของผู้มีส่วนได้เสีย โครงการพัฒนากำลังคนของศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข - ด้านกฎหมาย - ด้านปฏิบัติการ

สวัสดี