TQA ในกลุ่ม พสว. หน่วยงานย่อย : - ส่งเสริมสุขภาพตามกลุ่มอายุ 4 งาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเขียว
Advertisements

นักวิชาการสาธารณสุข ๙ ชช ศูนย์อนามัยที่ ๑๐ ชึชียงใหม่
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
วิชา หลักการตลาด บทที่ 3
1. 2 วาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ วาระที่ 2 รับรองรายงานการประชุมครั้งที่ 2/2552 เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2552 วาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ.
Draft Application Report
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
การจัดทำแผนปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กันยายน 2557.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
ประวัติ โรงเรียนวัดท่า ข้าม โรงเรียนวัดท่าข้าม ตั้งอยู่เลขที่ 54 หมู่ 3 ตำบลท่า ข้าม อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม มีพื้นที่โรงเรียนทั้งหมดรวม 1 ไร่ 2 งาน.
1 สบช.. 2 เอกสารข้อมูล สถานการณ์ / ผลการ ดำเนินงานสบช. - สถานการณ์ - ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับ การดำเนินงานสบช. - GAP ( อดีต / ปัจจุบัน / อนาคต ) ความคิดเห็นผู้บริหาร.
หลักสูตรการอบรมวิทยากรตัวคูณ ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 ภาคกลางตอนบน ( วันที่สอง ) ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ระหว่างวันที่ 9 – 11 มีนาคม 2558.
วิสัยทัศน์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ สิ่งสำคัญที่ต้องทำ ให้บรรลุ เพื่อตอบสนอง วิสัยทัศน์ เป้าประสง ค์ หลัก ประสิทธิภ าพ ผลสำเร็จ สูงสุดของ องค์กรซึ่ง ประชาชน.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
เพื่อยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการ ให้เทียบเท่ามาตรฐานสากล เครื่องมือตรวจสุขภาพและปรับปรุง องค์การ กรอบการประเมินองค์การด้วยตนเอง ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ โรงเรียนอนุบาลนาแกผดุงราชกิจเจริญ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครพนม เขต ๑ ตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
ความคาดหวังและความพึงพอใจของผู้ใช้ต่อการบริการของ ฝ่ายหอสมุดจอห์น เอฟ เคนเนดี้ สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี Expectation and.
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
โดย ปณิต มีแสง. ส่วนที่ 1 ลักษณะสำคัญขององค์กร ส่วนที่ 2 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐ - การนำองค์กร - การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ - การให้ความสำคัญกับผู้รับบริหารและ.
เยี่ยมเสริมพลัง การจัดการความรู้ วันที่ 14 ก. ย
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
กำหนดการ Work shop การประเมินตนเอง
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
การพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพ ปีงบประมาณ 2560
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
สำหรับศูนย์อนามัยที่ 1, 3, 6, 10, 11, 12
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
กำหนดการ Work shop -ชี้แจงวัตถุประสงค์ ร่วมเรียนรู้ ร่วมลด CAP ลดซ้ำซ้อน และเสริมพลัง -รับฟังการนำเสนอผลการประเมินตนเองและทำแผนปรับปรุงตนเองและสรุปปัญหาที่ต้อง.
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
เราคือ ‘One PPG’ We protect and beautify the world วัตถุประสงค์ของเรา
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
แผนยุทธศาสตร์เครือข่ายสุขภาพอำเภอเทพา ปี 2562
องค์กรต้นแบบอนามัยไร้พุง ปี 2552
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
โครงการ “สร้างนักวิจัยรุ่นใหม่” (ลูกไก่)
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
การดำเนินงานต่อไป.
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
จุฑารัตน์ สะธรรมกิจ ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
แบบฟอร์มที่ 2ลักษณะสำคัญขององค์การ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

TQA ในกลุ่ม พสว. หน่วยงานย่อย : - ส่งเสริมสุขภาพตามกลุ่มอายุ 4 งาน - ส่งเสริมสุขภาพตามกลุ่มอายุ 4 งาน - โภชนาการ 1 งาน - ออกกำลังกาย 1 งาน - สุขาภิบาลอาหาร + สุขาภิบาลทั่วไป 2 งาน - กระบวนงานหลัก (HPH/HM) 2 งาน 24 ชีวิต

ความมุ่งมั่นในการพัฒนาตามแนวทาง TQA วิเคราะห์ลูกค้า 8 งาน ประเมินตนเอง & ทบทวน 8 งาน ศึกษาความต้องการลูกค้า 8 งาน + 2 กระบวนงานหลัก ศึกษาความพึงพอใจลูกค้า 8 งาน + 2 กระบวนงานหลัก ทบทวนการประเมินตนเอง 2 กระบวนงานหลัก วิเคราะห์ความท้าทายและจัดทำกลยุทธ์ 2 กระบวนงานหลัก (นำร่อง/ร่วมเรียนรู้)

กระบวนงานพัฒนาและรับรองมาตรฐาน HPH วิเคราะห์ลูกค้า ลูกค้ารายทาง สสจ. รพ. ลูกค้าปลายทาง บุคลากรรพ. ผู้รับบริการ/ญาติ ชุมชน ประเมินองค์กร (169 ข้อ) คะแนนต่ำสุด หมวด 3 และ หมวด 5

ผลการประเมินตนเอง คะแนนต่ำสุด 2 categories Item 3.2 ความสัมพันธ์กับลูกค้าและความพึงพอใจของลูกค้า Categories 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล Item 5.1 ระบบงาน Item 5.3 ความผาสุกและความพึงพอใจของบุคลากร

ผลการศึกษาความต้องการเครือข่าย HPH ด้านการพัฒนารูปแบบ / วิจัย การสร้างเครือข่ายระดับเขต / ระดับจังหวัด การบริหารจัดการด้านสิ่งแวดล้อมใน รพ. ปัจจัยแห่งความสำเร็จของรพ.ที่มีผลงานดีเด่น ประสิทธิผลการดำเนินงาน HPH การสร้างเสริมพฤติกรรมสุขภาพของผู้รับบริการ ฯลฯ

ผลการศึกษาความต้องการเครือข่าย HPH ด้านการถ่ายทอดความรู้และเทคโนโลยี - จัดเวทีแลกเปลี่ยนประสบการณ์การดำเนินงาน - การถ่ายทอดความรู้และเทคโนโลยีเกี่ยวกับ การบริหาร จัดการด้านสิ่งแวดล้อมของ รพ. - การนำเสนอผลงานของ รพ.ที่ผ่านการรับรองมาตรฐาน HPH ผ่านสื่อต่างๆ

ผลการศึกษาความต้องการเครือข่าย HPH ด้านการส่งเสริมสนับสนุน - ศูนย์ฯ ควรเป็นหน่วยงานที่สามารถรับรองมาตรฐานได้ - ทบทวนมาตรฐานบางองค์ประกอบที่ไม่ชัดเจน - ศูนย์ฯ ควรออกติดตามอย่างน้อยทุก 6 เดือน - ศูนย์ฯ ควรมีที่ปรึกษาให้แต่ละ รพ. - สนับนุนด้านวิชาการ , วิทยากร สื่อ คู่มือ เอกสาร

ข้อเสนอแนะของเครือข่าย HPH กิจกรรมที่ศูนย์ฯ ควรดำเนินการอันดับต้นๆ คือ - แจ้งผลการรับรองกระบวนการและส่งรายงานฉบับสมบูรณ์ ให้ รพ.(ปี48) - ออกเยี่ยมสำรวจให้ทันความต้องการของ รพ. (ปี48) - ออกเยี่ยมสำรวจและประเมินรับรองพร้อมกัน HA&HPH - ออกไปกระตุ้นรพ.ที่ผ่านกระบวนการให้พัฒนาต่อเนื่อง และส่งเอกสารขอรับการประเมินรับรองมาตรฐานจาก พรพ. - จัดเวทีถ่ายทอดองค์ความรู้ การจัดการด้านสิ่งแวดล้อมใน รพ.

ผลการศึกษาความพึงพอใจต่อการเยี่ยมสำรวจ - พึงพอใจมาก ร้อยละ 42.9 - พึงพอใจปานกลาง ร้อยละ 36.2 - พึงพอใจน้อย ร้อยละ 11.4 - พึงพอใจมากที่สุด ร้อยละ 9.5 (อัตราการส่งกลับแบบสอบถาม ร้อยละ 20.6)

การวิเคราะห์ความท้าทายและวางแผนกลยุทธ์ การวิเคราะห์ปัจจัยภายนอกและภายในองค์กร

การสร้างเสริมความเข้มแข็งภาคีเครือข่าย 7.2a BSC : HPH ความท้าทายเชิงกลยุทธ์ ประเด็นกลยุทธ์ การสร้างเสริมความเข้มแข็งภาคีเครือข่าย 7.2a พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการงบประมาณ 7.1a, 7.6a พัฒนาระบบเครือข่ายการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม 3.1a, 3.2a-b พัฒนาระบบการจัดการสนับสนุนด้านวิชาการ 6.1a, 6.2a พัฒนาระบบการสื่อสารติดตามประเมินผลกลยุทธ์ 1.1a,c 2.1a-b,2.2a-b พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ 4.1a-b, 4.2a-b สร้างเสริมศักยภาพและแรงจูงใจบุคลากร 5.1c, 5.2a, 5.3b

แผนกลยุทธ์ กลุ่ม พสว. วิสัยทัศน์ : องค์กรหลักในการส่งเสริมสุขภาพในพื้นที่รับผิดชอบ พันธกิจ : 1. การถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยีด้านการส่งเสริมสุขภาพให้กับ เครือข่าย รวมถึงการผลักดัน และสนับสนุนให้เครือข่ายส่งเสริมสุขภาพเป็น ไปตามมาตฐานและกฎหมาย 2. การพัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพให้เข้มแข็ง โดยการกำกับติดตามประเมินผล 3. การผลิต พัฒนาองค์ความรู้และนวัตกรรมเพื่อการส่งเสริมสุขภาพที่มีคุณภาพ 4. การพัฒนา ผลักดันและสนับสนุนนโยบายและกฏหมายที่จำเป็น ค่านิยมหลัก : แลกเปลี่ยนเรียนรู้ เสริมพลัง สนับสนุน และสร้างสรรค์

ประชาชนได้รับการคุ้มครองด้านการ ส่งเสริมสุขภาพและการจัดการสิ่งแวดล้อมเพื่อสุขภาพที่มีคุณภาพ ประชาชนมีพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพที่เหมาะสมตามวัย Goal ลูกค้า C1 การสร้างเสริมความเข้มแข็งของภาคีเครือข่าย การเงิน F1 พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการงบประมาณ I1 พัฒนาระบบเครือข่ายการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม I2 พัฒนาระบบการจัดการ สนับสนุนด้านวิชาการ กระบวนการ L1สร้างเสริมศักยภาพและแรงจูงใจบุคลากร การเรียนรู้ L3 พัฒนาระบบการสื่อสาร ติดตามประเมินผลกลยุทธ์ L2 พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ

กำหนดความท้าทายเชิงกลยุทธ์ หน่วยชี้วัด ตาราง 4 : คาดการณ์อนาคต กำหนดความท้าทายเชิงกลยุทธ์ หน่วยชี้วัด ระดับเป้าหมาย เจ้าของงาน ประเด็นกลยุทธ์ ไชโย จบ แผนแม่ HPH / HM ต่อ แผนลูก HPH / HM

การเรียนรู้จากการประยุกต์ TQA 1. การมีส่วนร่วมของสมาชิกทำให้ ได้ผลงานที่ชัดเจน 2. เข้าใจมุมมองของลูกค้ามากขึ้น 3. ทีม มีความมุ่งมั่นที่จะเรียนรู้สิ่งใหม่ 4. ความต่อเนื่องของการเรียนรู้ช่วยให้บรรลุเป้าหมาย

ขอขอบคุณ

ข้อเสนอของอาจารย์ -ขอให้เตรียมข้อมูลตามความรับผิดชอบก่อนไปทำแผน (pre work) -นำข้อมูลที่มีไปใช้ด้วย เช่น ความต้องการลูกค้า คะแนนประเมิน -ทุกเสียงมีความสำคัญเท่ากัน ต้องฟังเขาก่อน -อาจารย์บรรยายตามslide BSC&TQA Strategy Maps -อย่ากลัวว่า ผิด -เน้นการมีส่วนร่วมเท่าที่ทำได้ อย่าหวังว่าจะอยู่ทุกคน -catch ball เป็นเรื่องจำเป็น -สนใจความต้องการลูกค้า หาเป้าให้ชัด ให้สอดคล้องกับงบประมาณ