หลักการ เบื้องต้น ของการใช้สถิติ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
แหล่งข้อมู ล เครื่องมือที่ใช้ใน การวิจัย การวิเคราะห์ข้อมูล การเขียนรายงาน การวิจัย ปัญหาการ วิจัย
การวิเคราะห์ข้อมูล แบ่งออกเป็น 2 ประเภท 1. การวิเคราะห์ ข้อมูลเชิงคุณภาพ 2. การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
ประเภทของ สถิติ สถิติเชิง บรรยาย สถิติเชิงสรุป อ้างอิง
1. สถิติเชิงบรรยาย (Descriptive Statistics) ใช้บรรยายลักษณะ ของประชากร หรือตัวอย่างที่ศึกษาเท่านั้น โดยไม่สามารถ นำผลการวิเคราะห์ไปสรุป หรืออ้างอิงหรือ พยากรณ์ไปยังกลุ่มอื่นได้
ค่าเฉลี่ย (Mean) ค่าเฉลี่ย (Mean) แทนค่าเฉลี่ย แทนผลรวมของ คะแนนทั้งหมด แทนจำนวนข้อมูล
จงหาค่าเฉลี่ยของ คะแนนสอบวิชา สุขศึกษาของนักเรียน จำนวน 5 คน ดังนี้ 15, 12, 16, 8, 10 ตัวอย่างตัวอย่าง
ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน (Standard Deviation : S.D. or S.)
คะแนน (X) X
2. สถิติเชิงสรุปอ้างอิง (Inferential Statistics) เป็นสถิติที่ใช้ในการ ประมาณค่า คาดคะเน สรุปอ้างอิงจากกลุ่มตัวอย่าง ไปยังประชากร ที่ต้องการศึกษาทั้งหมด
รูปแบบการ ทดลอง แบบการ ทดลองที่ 1 ใช้กลุ่มตัวอย่างกลุ่ม เดียว และมีการวัดผล การทดลอง 1 ครั้ง X O 1
แนวทางการวิเคราะห์แนวทางการวิเคราะห์ กำหนดเกณฑ์ เปรียบเทียบระหว่าง ค่าเฉลี่ยของผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนที่คำนวณ ได้ กับเกณฑ์
สูตรสูตร
แบบการทดลองที่ 2 ใช้กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มเดียว มี การ วัดผล 2 ครั้ง คือ ก่อน และหลังการทดลอง O 1 X O 2
แนวทางการวิเคราะห์แนวทางการวิเคราะห์ เปรียบเทียบระหว่าง ค่าเฉลี่ยของผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนก่อนการ ทดลองใช้นวัตกรรมกับ หลัง การทดลองใช้นวัตกรรม เปรียบเทียบระหว่าง ค่าเฉลี่ยของผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนก่อนการ ทดลองใช้นวัตกรรมกับ หลัง การทดลองใช้นวัตกรรม t = D ; df = n - 1 n D 2 - D n - 1
แบบการทดลองที่ 3 ใช้กลุ่มตัวอย่าง สองกลุ่มมี การวัดผล 1 ครั้ง คือ หลังการ ทดลอง กลุ่มทดลอง X O 1 กลุ่มควบคุม ~X O 2
กรณีที่ 1:
กรณีที่ 2: