งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานวิจัยเพื่อจบหลักสูตร บัญชีมหาบัณฑิต (บช.ม.) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "งานวิจัยเพื่อจบหลักสูตร บัญชีมหาบัณฑิต (บช.ม.) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 งานวิจัยเพื่อจบหลักสูตร บัญชีมหาบัณฑิต (บช.ม.) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
การศึกษาเปรียบเทียบความสัมพันธ์ระหว่างอัตราส่วนทางการเงินกับราคาหลักทรัพย์ของบริษัทจดทะเบียน หมวดธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์และ หมวดธุรกิจวัสดุก่อสร้างในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย นายยิ่งเจริญ บุญยัง ผู้วิจัย (วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ) ผศ.ดร.กิตติมา อัครนุพงศ์ อาจารย์ที่ปรึกษา

2 วัตถุประสงค์ของการศึกษา
เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างอัตราส่วนทางการเงินและราคาหลักทรัพย์ชองกลุ่มอุตสาหกรรมอสังหาริมทรัพย์การก่อสร้าง หมวดธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์และหมวดธุรกิจวัสดุก่อสร้าง ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เพื่อเปรียบเทียบความสัมพันธ์ระหว่างอัตราส่วนทางการเงินและราคาหลักทรัพย์กลุ่มอุตสาหกรรมอสังหาริมทรัพย์และการก่อสร้าง หมวดธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์และหมวดธุรกิจวัสดุก่อสร้างในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

3 กรอบแนวคิดในการวิจัย
Independent Variable Liquidity Ratio Efficiency Ratio Leverage Ratio Profitability Ratio Dependent Variable Stock Prices Control Variable Size (Total Asset) GDP Inflation Rate

4 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
หมวดธุรกิจ จำนวน ร้อยละ พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ 56 74.67 วัสดุก่อสร้าง 19 25.33 รวม 75 100.00 ประชากร หมวดธุรกิจ จำนวน ร้อยละ พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ 46 73.02 วัสดุก่อสร้าง 17 26.98 รวม 63 100.00 กลุ่มตัวอย่าง

5 การวิเคราะห์ข้อมูล 1. ตัดข้อมูลของกลุ่มตัวอย่างที่อัตราส่วนทางการเงินไม่ครบถ้วน 2. เรียงลำดับเพื่อตัดข้อมูลที่มีค่าสูงสุด – ต่ำสุด 3. วิเคราะห์สถิติเชิงพรรณนา 4. วิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน 5. ทดสอบสมมติฐานก่อนการทำการวิเคราะห์สมการถดถอยแบบพหุคูณ 6. วิเคราะห์สมการถดถอยแบบพหุคูณ - วิเคราะห์แยกระหว่างหมวดธุรกิจ 7. เปรียบเทียบความสัมพันธ์ของทั้งสองหมวดธุรกิจ โดยการแทนค่าตัวแปรหุ่น (Dummy Variable)

6 สรุปผลการศึกษา ส่วนที่ 1 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา

7 ส่วนที่ 2 ผลการวิเคราะห์ค่าสถิติเชิงพรรณนา
Variable Property Construction Stock Price สูงกว่า Current Ratio Quick Ratio Account Receivable Turnover Ratio Inventory Turnover Ratio Fixed Asset Turnover Ratio Asset Turnover Ratio Debt to Equity Ratio Interest Coverage Ratio Gross Profit Ratio Net Profit Ratio Return on Asset Ratio Return in Equity Ratio Total Asset Liquidity Efficiency Leverage Profitability

8 ส่วนที่ 3 ผลการวิเคราะห์ค่าสหสัมพันธ์
ส่วนที่ 3 ผลการวิเคราะห์ค่าสหสัมพันธ์ Financial Ratio ทิศทางความสัมพันธ์กับราคาหลักทรัพย์ ระดับนัยสำคัญ Current Ratio ทิศทางตรงกันข้าม 0.10 Quick Ratio ไม่มีนัยสำคัญ Account Receivable Turnover Ratio ทิศทางเดียวกัน Inventory Turnover Ratio Fixed Asset Turnover Ratio Asset Turnover Ratio 0.01 Debt to Equity Ratio Interest Coverage Ratio 0.05 Gross Profit Ratio Net Profit Ratio Return on Asset Ratio Return on Equity Ratio Liquidity Efficiency Leverage Profitability

9 สรุปผลการทดสอบสมมติฐาน
ส่วนที่ 3 ผลการวิเคราะห์ค่าสหสัมพันธ์ สรุปผลการทดสอบสมมติฐาน สมมติฐานที่ ผลการทดสอบสมมติฐาน 1 ปฏิเสธ H11 ยอมรับ H10 อัตราส่วนสภาพคล่องทางการเงินมีความสัมพันธ์ในทิศทางตรงกันข้าม กับราคาหลักทรัพย์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 2 ยอมรับ H11 อัตราส่วนแสดงประสิทธิภาพในการดำเนินงานมีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกันกับราคาหลักทรัพย์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 3 อัตราส่วนความสามารถในการชำระหนี้มีความสัมพันธ์ในทิศทางตรงกันข้าม กับราคาหลักทรัพย์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 4 อัตราส่วนวัดความสามารถในการทำกำไรมีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกัน กับราคาหลักทรัพย์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ

10 ส่วนที่ 4 ผลการวิเคราะห์สมการถดถอยแบบพหุคูณ
สมการที่ (1) หมวดธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ Financial Ratio ลักษณะความสัมพันธ์ Current Ratio เป็นลบ ไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ Asset Turnover Ratio เป็นบวก ไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ Interest Coverage Ratio เป็นบวก มีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.05 Return on Asset Ratio สมการที่ (1) หมวดธุรกิจวัสดุก่อสร้าง Financial Ratio ลักษณะความสัมพันธ์ Current Ratio เป็นบวก ไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ Asset Turnover Ratio Interest Coverage Ratio เป็นลบ ไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ Return on Asset Ratio

11 สมการที่ (2) หมวดธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์
ส่วนที่ 4 ผลการวิเคราะห์สมการถดถอยแบบพหุคูณ สมการที่ (2) หมวดธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ Financial Ratio / Control Variable ลักษณะความสัมพันธ์ Current Ratio เป็นลบ ไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ Asset Turnover Ratio เป็นบวก ไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ Interest Coverage Ratio เป็นบวก มีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.01 Return on Asset Ratio เป็นบวก มีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.05 GDP Inflation Rate Total Asset (Logarithm)

12 สมการที่ (2) หมวดธุรกิจวัสดุก่อสร้าง
ส่วนที่ 4 ผลการวิเคราะห์สมการถดถอยแบบพหุคูณ สมการที่ (2) หมวดธุรกิจวัสดุก่อสร้าง Financial Ratio / Control Variable ลักษณะความสัมพันธ์ Current Ratio เป็นบวก ไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ Asset Turnover Ratio Interest Coverage Ratio เป็นลบ ไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ Return on Asset Ratio GDP Inflation Rate Total Asset (Logarithm)

13 ส่วนที่ 5 ผลการเปรียบเทียบความสัมพันธ์ ของทั้งสองหมวดธุรกิจ
สมการที่ (3) อัตราส่วนทางการเงิน ผลการเปรียบเทียบความสัมพันธ์ Current Ratio ไม่แตกต่างต่างกัน Asset Turnover Ratio ไม่แตกต่างกัน Interest Coverage Ratio หากพิจารณา 1-tailed หมวดธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์มีความสัมพันธ์สูงกว่า Return on Asset Ratio

14 ส่วนที่ 5 ผลการเปรียบเทียบความสัมพันธ์ ของทั้งสองหมวดธุรกิจ
สมการที่ (4) อัตราส่วนทางการเงิน ผลการเปรียบเทียบความสัมพันธ์ Current Ratio ไม่แตกต่างต่างกัน Asset Turnover Ratio ไม่แตกต่างกัน Interest Coverage Ratio หมวดธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์มีความสัมพันธ์สูงกว่า Return on Asset Ratio

15 ข้อจำกัด - ข้อเสนอแนะ ข้อจำกัดในการศึกษา
สมมติฐานในการวิเคราะห์สมการถดถอยแบบพหุคูณ ไม่ผ่านสมมติฐานที่ 2-4 ทั้ง 4 สมการ ข้อเสนอแนะสำหรับการศึกษาในครั้งนี้ นักลงทุนควรใช้ข้อมูลในงบการเงินประกอบการตัดสินใจลงทุน พร้อมพิจารณาปัจจัยอื่นที่เกี่ยวข้องประกอบ ข้อเสนอแนะสำหรับการศึกษาในครั้งต่อไป - การศึกษาเปรียบเทียบระหว่างอุตสาหกรรมอื่น ๆ - อาจกำหนดตัวแปรอิสระในการศึกษาเพิ่มเติม


ดาวน์โหลด ppt งานวิจัยเพื่อจบหลักสูตร บัญชีมหาบัณฑิต (บช.ม.) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google