ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ลิ้มปองทรัพย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชยการ เลขที่ 2 ถนนมหาราช แขวง พระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร 10200 ความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณลักษณะ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผู้วิจัยโดย นางสาวกุลธิดา มีสัตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญภิวัฒน์
Advertisements

รายงานการวิจัย พฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตของนักศึกษา
ผู้วิจัย นางนันทา สุพจน์เฉลิมขวัญ
การสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศของ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสม นางสาวพัชรี นาคทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
นายภิรักษ์ คำศรี ชื่อผลงานวิจัย : ชื่อผู้วิจัย :
ความพึงพอใจของผู้ใต้บังคับบัญชาต่อการบริหารงานของ ผู้ช่วยผู้อำนวยการฝ่ายบุคลากร โรงเรียนแลมป์ - เทค ปีการศึกษา 2550 วิธีการวิจัย สำรวจความพึงพอใจ กับผู้ใต้บังคับบัญชา.
วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชยการ กรุงเทพมหานคร ผู้วิจัย
วิทยาลัยเทคโนโลยีกิตติบริหารธุรกิจ Kitti Business Administration Technological College ชื่อเรื่อง “พฤติกรรมการใช้โปรแกรม Microsoft Office ของ นักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ.
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
นางปราณี ธำรงสุทธิพันธ์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลศรีย่าน
โดย นางสาวนิภาพร เถาคำแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค.)
การศึกษาและการแก้ปัญหานักเรียนชั้น ปวช.1 ห้อง 110 รอบเช้า วิทยาลัย เทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชยการ โดยใช้ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ผู้วิจัย นางเพ็ญแข สร้อยสุวรรณ.
นางสาวนิสรีน อัศวะ วิวัฒน์กุล. การปฏิบัติที่ซ้ำซ้อน มีขั้นตอนในการ ปฏิบัติงานหลายขั้นตอน ทำให้การจัดทำ เอกสารต่าง ๆ ล่าช้าและเป็นการเพิ่มภาระ งานโดยไม่จำเป็น.
ผู้วิจัย : นางสาวสุรีรัตน์ ขันคำ
การศึกษารูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบ follow me เพื่อพัฒนาความรับผิดชอบทางการเรียนวิชาบัญชีเบื้องต้น 2 ของนักศึกษาระดับ ปวช.1 สาขาพณิชยการ โดย อ.ชรินทร.
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)
ความพึงพอใจของผู้เรียนต่อคุณภาพการสอนของครู แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ปีการศึกษา 2550 วิธีการวิจัยวัตถุประสงค์ ผลการศึกษา พบว่า โดยรวมนักเรียนมี ความพึงพอใจต่อคุณภาพ.
ผู้วิจัย การพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ VDO ช่วยสอน
ความคิดเห็นของหัวหน้าสถานประกอบการต่อการฝึกงานของนักศึกษา ระดับปวส
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
ความคาดหวังของผู้ปกครองต่อการปฏิบัติงานของงานปกครอง
ผู้วิจัย นายธีรภัทร พึ่งเนตร
นางนุชจรินทร์ แก้ววงวาล วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
The Students’ Opinion on Learning Management of Report Financial Analysis Course นายวิทยา ยิ่งนคร ผู้วิจัย บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต ( การบัญชี ) วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรบริหารธุรกิจ.
ตอนที่ 4 ชื่อเรื่อง คุณลักษณะของบุคลากรทางการศึกษา ที่เอื้อต่อการปฏิรูปการศึกษา ผู้วิจัย รศ. ดร. สุวิมล ว่องวานิช คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปีที่วิจัย.
สภาพและความต้องการของเด็กสถานพินิจเด็กและเยาวชนชาย:ศึกษากรณีบ้านมุทิตา
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
ประชิด เกิดมาก ผู้วิจัย. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาสภาพการจัดการเรียน การสอนด้วยจิกซอว์ 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนก่อนเรียน.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การวางแผน การศึกษาระดับ จุลภาค Micro Planning.  ความเชื่อพื้นฐานทางการวางแผน การศึกษา  การวางแผนก็เปรียบเสมือนการจัดให้มี แนวปฏิบัติว่าในระยะเวลาหนึ่งจะต้องทำ.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาการใช้โปรแกรมตาราง งานโดยวิธีการเรียนรู้แบบเพื่อน ช่วยเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้น ปีที่
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
23 – 24 กรกฏาคม พ. ศ ณ ห้องปฏิบัติการสาขาวิชาสถิติประยุกต์ อาคาร 26 (26201 B)
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ Thai Qualifications Framework for Higher Education for Higher Education TQF : HEd TQF : HEd Thai Qualifications.
ความพึงพอใจที่มีต่อ ประสิทธิภาพ การ ปฏิบัติงานธุรการ นางพนิดา ชวนประเสริฐ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
การศึกษาเจตคติต่อวิชาการเก็บเอกสาร ของผู้เรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปวช. 206 วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชยการ ผู้วิจัย นางสุพัณณรัฎฐ์ ประชานิยม.
การแพร่กระจายนวัตกรรม Diffusion of Innovation
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
งานวิจัยเพื่อจบหลักสูตร บัญชีมหาบัณฑิต (บช.ม.) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
วิทยาลัยเทคโนโลยี ดอนบอสโกสุราษฎร์
ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาความสามารถด้านการพูดนำเสนอโปรแกรมท่องเที่ยวโดยใช้การสอนแบบบทบาทสมมุติ วิชาการตลาดเพื่อการท่องเที่ยวของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรชั้นปีที่
หลักสูตรที่ใช้สำหรับอบรมครูผู้สอน และ เนื้อหารายวิชาจะใช้สำหรับสอนนักศึกษา ในสถาบันอาชีวศึกษา กลุ่มมาตรฐานการบัญชี 10 มี.ค. 60.
ผลงานทางวิชาการ ความหมาย ลักษณะ ประเภท
การพัฒนาบุคลิกภาพด้านการแสดงออกของผู้เรียน
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
วิชา พฤติกรรมผู้บริโภค
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
ความหมาย ความสำคัญ และจุดมุ่งหมายของการศึกษา
การใช้ชุดฝึกปฏิบัติ เพื่อพัฒนาการอ่านออกเสียงเสียงท้าย - ts , st
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ 8
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
นายเกียรติศักดิ์ คนธสิงห์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพายัพและบริหารธุรกิจ
ชื่อเรื่อง : แรงจูงใจที่ต้องการศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา ของนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ผู้วิจัย : นางสาวสิริรัตน์ เทียมเสรีวงศ์
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
การท่องเที่ยวโดยชุมชน (Community - Based Tourism)
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
อ. อรนพัฒน์ เหมือนเผ่าพงษ์ สาขาวิชาการจัดการโรงแรมและธุรกิจที่พัก
ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 10
(Code of Ethics of Teaching Profession)
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
แบบฟอร์มที่ 2ลักษณะสำคัญขององค์การ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ลิ้มปองทรัพย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชยการ เลขที่ 2 ถนนมหาราช แขวง พระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณลักษณะ ผู้ทำบัญชีที่พึงประสงค์ของ ผู้ประกอบการธุรกิจ ในเขตกรุงเทพมหานคร

ปัญหาการวิจัย ผู้วิจัยในฐานะที่เป็นครูผู้สอนและ ผู้ผลิตนักศึกษาออก สู่สังคม ของการทำงาน ประจำภาควิชาการบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชยการ ต้องการนำข้อมูล ที่ได้มา ประยุกต์ใช้เป็นแนวทางในการจัด การศึกษาในสถานศึกษาเพื่อให้สอดคล้อง และตอบสนองต่อสภาพแวดล้อมธุรกิจที่จะ เปลี่ยนแปลงไปในอนาคต รวมทั้งนำข้อมูล ที่ได้จากการศึกษามาสร้างแรงจูงใจใน การศึกษาต่อวิชาชีพการบัญชีของ สถานศึกษา และเป็นการเพิ่มศักยภาพของ นักศึกษาที่จะประกอบวิชาชีพบัญชีใน อนาคต

วัตถุประสงค์การวิจัย 1. เพื่อศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับ คุณลักษณะผู้ทำบัญชี ที่พึง ประสงค์ของผู้ประกอบการธุรกิจ ในเขต กรุงเทพมหานคร 2. เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกับ คุณลักษณะผู้ทำบัญชีที่พึงประสงค์ของ ผู้ประกอบการธุรกิจ ในเขตกรุงเทพมหานคร ที่มีลักษณะทั่วไปของธุรกิจ และการ ปฏิบัติงานทางการบัญชีแตกต่างกัน

ความคิดเห็นเกี่ยวกับ คุณลักษณะของผู้ทำบัญชีที่พึง ประสงค์ S.D. ระดับความ ต้องการ 1. ด้านคุณค่าทางวิชาชีพ มาก 2. ด้านความรู้ของผู้ทำบัญชี มาก 3. ด้านความสามารถของผู้ทำ บัญชี มากที่สุด 4. ด้านความชำนาญของผู้ทำ บัญชี มากที่สุด รวมเฉลี่ย มากที่สุด สรุปผลการวิจัย

ผู้ประกอบการธุรกิจที่เป็นกลุ่มตัวอย่างมี ความคิดเห็นต่อคุณลักษณะของผู้ทำบัญชีที่พึง ประสงค์ โดยรวมมีความต้องการในคุณลักษณะ ดังกล่าวอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.58 เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า กลุ่ม ตัวอย่างมีความคิดเห็นว่ามีความต้องการใน คุณลักษณะดังกล่าวในระดับมากที่สุด โดย คุณลักษณะด้านความชำนาญของผู้ทำบัญชี ผู้ประกอบการธุรกิจ มีความต้องการมากที่สุด มี ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.83 รองลงมา คือ คุณลักษณะ ด้านความสามารถของผู้ทำบัญชี มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.60 และมีความต้องการในคุณลักษณะดังกล่าว ในระดับมาก คือ คุณลักษณะด้านคุณค่าทาง วิชาชีพ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.48 และสุดท้าย คือ คุณลักษณะด้านความรู้ของผู้ทำบัญชีมีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 4.40 สรุปผลการวิจัย ( ต่อ )

ประโยชน์ที่ได้จากการวิจัย 1. ทำให้ได้ทราบถึงคุณลักษณะของผู้ทำ บัญชีที่พึงประสงค์ของผู้ประกอบการธุรกิจ 2. หน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีแนวทางสำหรับ ในการออกข้อกำหนด กฎ ระเบียบ ในการ ประกอบวิชาชีพของผู้ทำบัญชีให้เป็นที่ยอมรับ และน่าเชื่อถือมากขึ้น 3. สถานศึกษามีแนวทางในการพัฒนา หลักสูตรการศึกษาให้สอดคล้องกับความ ต้องการของผู้ประกอบการธุรกิจ