การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การใช้ชุดการสอนวิชาบัญชีเบื้องต้น 2 เรื่องการปรับปรุงบัญชี ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาพณิชยการ และการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
Advertisements

พัฒนศักดิ์ จิณะวงค์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
วิจัยเรื่อง “ผลการจัดการเรียนรู้รายวิชา คณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 เรื่อง ความน่าจะเป็นโดยใช้เทคนิคร่วมกันคิด” โดย นางสาวนิภาพร วิริยะประกอบ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
การสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศของ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสม นางสาวพัชรี นาคทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
ผู้วิจัย นางสาวมัตติกา ขวัญใจ วิทยาลัยเทคโนโลยีพาณิชยการลานนา
นางสาวปุณณภา ฉัตรเดชาพล
ผู้วิจัย อาจารอุบลรัตน์ น้อยสำแดง
การใช้กระบวนการกลุ่ม เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน ในรายวิชา การบัญชีตั๋วเงินของ นักศึกษาระดับชั้น ปวช.2 แผนกวิชาการบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยี พณิชยการเชียงใหม่
การศึกษาผลการเรียนรู้ด้านการพิมพ์ไทยด้วย คอมพิวเตอร์ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปี ที่ 1 แผนกบริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี The education.
สุนันทา โสรณสุทธิ์ ผู้วิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชย การ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
โดย นางสาวนิภาพร เถาคำแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค.)
ผู้เสนอ นางสาวนิภาพร วิริยะประกอบ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
ผู้วิจัย : นางสาวสุรีรัตน์ ขันคำ
นางสาวทศพร ปินตาสม วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่

ผู้วิจัย การพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ VDO ช่วยสอน
นางบัววิไล แก้วอู๋ ผู้วิจัย
นางสาวรัฏฐภรณ์ เหล็กไหล
นางสาวสาวิตรี โยธาจันทร์ คณะบริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
นายศุภพล มงคลเจริญพันธ์
ชื่อเรื่อง ผลการใช้เทคนิคการเรียนแบบร่วมมือที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ของการเรียนวิชางานวัดละเอียดช่างยนต์ของนักศึกษาชั้น ปวช.2 สาขางานยานยนต์ โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
การบริหารโดยใช้รูปแบบบูรณาการด้านงานวิชาการและ การจัดการเรียนการสอน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสำหรับแก้ปัญหา การจัดทำวิจัย กรณีศึกษา : วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา.
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจกลุ่ม 821
อาจารย์อัครชัย ปัญญาคม
นางนุชจรินทร์ แก้ววงวาล วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่

วิจัยเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาธุรกิจทั่วไป
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ครูผู้สอนกลุ่มธุรกิจ
โดย นายยิ่งเจริญ บุญยัง

นำเสนอโดย นางสาวพัชรี นาคทอง
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ ความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
อาจารย์ประจำสาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
สมเกียรติ์ คุณหอม วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
โดย อาจารย์ วิลาวัณย์ ลีลารัตน์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 ที่เรียน จากการจัดกิจกรรมการเรียน โดยใช้การจัดลำดับ.
ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 ที่เรียน จากการจัดกิจกรรมการเรียน โดยใช้การจัดลำดับ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
การพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบ รายบุคคลทางการคำนวณและ การใช้สูตรฟังชั่นอย่างง่ายโดย โปรแกรม Microsoft Excel ในวิชาคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ เพื่องานอาชีพ ผู้วิจัย.
ประชิด เกิดมาก ผู้วิจัย. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาสภาพการจัดการเรียน การสอนด้วยจิกซอว์ 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนก่อนเรียน.
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชาการจัดเก็บเอกสารของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 ที่ใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบ ร่วมมือ เทคนิคจิ๊กซอว์กับการสอนแบบปกติ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาการใช้โปรแกรมตาราง งานโดยวิธีการเรียนรู้แบบเพื่อน ช่วยเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้น ปีที่
การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาคอมพิวเตอร์ เพื่อการออกแบบของ นักเรียนประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 สาขางาน คอมพิวเตอร์กราฟิค วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น โดยใช้รูปแบบการ
วัตถุประสงค์การวิจัย
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลศรีย่าน
ทำการวิจัยโดย นางรุ่งนภา ทินช่วย
ชื่อผู้วิจัย นางสาวศุวรีย์ จำปามูล
ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาความสามารถด้านการพูดนำเสนอโปรแกรมท่องเที่ยวโดยใช้การสอนแบบบทบาทสมมุติ วิชาการตลาดเพื่อการท่องเที่ยวของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรชั้นปีที่
การพัฒนาบุคลิกภาพด้านการแสดงออกของผู้เรียน
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
นางนพรัตน์ สุวรรณโณ วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยาสงขลา
นางสาวสุภาวดี นุกุลเสาวลักษณ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ 2559
การนำเสนอผลงานการวิจัย
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย ศุภลักษณ์ พูลเกษม วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ 8
นางอัชฌา เพ็งพินิจ นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
ว่าที่ร้อยตรีศิริพงษ์ สายหยุด ผู้วิจัย
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการพัฒนาการจัดการเรียนรู้
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา การบัญชี อุตสาหกรรมและระบบใบสำคัญ ของนักศึกษาระดับ ปวช. 3 สาขาการบัญชี ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้
โดย นางสาววิมลรัตน์ ยอดคำแปง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design) เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาระดับชั้น ปวช.2/4 ในรายวิชาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว รัตติกาล ก้อนแปง วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่

ความสำคัญของปัญหา หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพเป็นหลักสูตรที่มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะและประสบการณ์ในงานอาชีพตรงตามมาตรฐานวิชาชีพ นำไปปฏิบัติงานอาชีพได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถเลือกวิถีการดำรงชีพและการประกอบอาชีพได้อย่างเหมาะสมกับตนเพื่อสร้างสรรค์ความจริญต่อชุมชน ท้องถิ่นและประเทศชาติ รายวิชาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว เป็นรายวิชาชีพสาขางาน ที่นักศึกษาระดับ ปวช.สาขางานการท่องเที่ยวทุกคนต้องเรียน แต่การจัดการเรียนการสอนที่ผ่านมา พบว่า นักศึกษายังมีผลการเรียนไม่บรรลุตามจุดประสงค์ที่ตั้งไว้ เนื่องจากเป็นการจัดการเรียนการสอนที่เน้นการบรรยายควบคู่ไปกับการปฏิบัติ นักศึกษายังไม่ได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ดังนั้น ผู้วิจัยจึงเลือกใช้วิธีการจัดการเรียนรู้โดยวิธีการออกแบบแบบย้อนกลับ (Backward Design) ในรายวิชา อุตสาหกรรมท่องเที่ยว สำหรับนักศึกษาระดับชั้น ปวช.2/4 แผนกการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาระดับสติปัญญาของผู้เรียน และการใช้วิธีการประเมินผลตามสภาพจริงของผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน คือ ด้านสาระการเรียนรู้ ด้านกระบวนการเรียนรู้ จึงถึงด้านคุณธรรมจริยธรรม เพื่อนำผลการประเมินในสภาพจริงไปใช้จัดกลุ่มนักศึกษาให้ตรงกับศักยภาพ เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา

วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนโดยใช้กระบวนการจัดการเรียนรู้ด้วยการออกแบบแบบย้อนกลับ เพื่อประเมินผลการเรียนรู้ตามสภาพจริงที่จัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการออกแบบแบบย้อนกลับในรายวิชาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว เพื่อศึกษาระดับความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการเรียนโดยใช้การจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการออกแบบแบบย้อนกลับ

กรอบแนวคิดการวิจัย การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ การกำหนดความรู้ความสามารถของผู้เรียน ที่ต้องการให้เกิดขึ้น ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา กำหนดการแสดงออกของผู้เรียนที่เป็นหลักฐานที่ชัดเจน และยอมรับได้ว่าผู้เรียนมีความรู้ ความสามารถตามที่กำหนด ความพึงพอใจของนักศึกษา ออกแบบประสบการณ์การเรียนรู้ และการจัดการเรียนการ นำหน่วยการเรียนรู้ที่จัดทำขึ้นไปใช้จัดการเรียนการสอน ทบทวน แก้ไข และปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง

สรุปผลการวิจัย จากการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้โดยการออกแบบแบบย้อนกลับ พบว่า ค่าเฉลี่ยของคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนคิดเป็นร้อยละ 41.01 (µ = 24.61, S.D. = 53.45) และค่าเฉลี่ยของคะแนนผลสัมฤทธิ์หลังเรียนคิดเป็นร้อยละ 82.57 (µ = 49.54, S.D. = 6.64) มีค่าแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01

สรุปผลการวิจัย จากการประเมินผลความของพึงพอใจของนักศึกษา พบว่านักศึกษามีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้โดยการออกแบบแบบย้อนกลับ ในภาพรวมอยู่ในระดับ พึงพอใจมาก (µ = 4.51, S.D. = 0.26) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า นักศึกษามีความพึงพอใจมากที่สุดในด้าน กระบวนการจัดการเรียนรู้มีความเหมาะสมกับเวลา (µ = 4.82, S.D. = 0.52) รองลงมา ได้แก่ กระบวนการจัดการเรียนรู้เปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอน (µ = 4.79, S.D. = 0.48) เนื้อหาที่ใช้จัดการเรียนรู้มีความถูกต้องในด้านวิชาการ (µ = 4.74, S.D. = 0.57) เนื้อหาที่จัดจัดการเรียนรู้มีความน่าสนใจ (µ = 4.62, S.D. = 0.55) เครื่องมือวัดผลมีปริมาณข้อเหมาะสม (µ = 4.59, S.D. = 0.82) เครื่องมือวัดผลมีความยากง่ายเหมาะสม (µ = 4.53, S.D. = 0.71) เครื่องมือวัดผลสามารถวัดผลได้สอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง (µ = 4.41, S.D. = 0.70) เนื้อหาที่ใช้จัดการเรียนรู้มีความน่าสนใจ (µ = 4.32, S.D. = 0.68) กระบวนการจัดการเรียนรู้มีลำดับเป็นขั้นตอน (µ = 4.29, S.D. = 0.75) และเครื่องมือวัดผลการเรียนมีความเหมาะสม (µ = 4.03, S.D. = 0.94)