ผู้วิจัย : นางสาวสุรีรัตน์ ขันคำ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผู้เสนอ นางประภัสสร แก้วประสาน สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
Advertisements

การใช้ชุดการสอนวิชาบัญชีเบื้องต้น 2 เรื่องการปรับปรุงบัญชี ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาพณิชยการ และการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
ผู้วิจัย นางนันทา สุพจน์เฉลิมขวัญ
การสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศของ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสม นางสาวพัชรี นาคทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
รายงานการวิจัย เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรูปแบบการจำลอง การอ่านค่าเวอร์เนียคาลิปเปอร์ วิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น ระดับชั้น ปวช.1.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิชาการใช้โปรแกรมประมวลผลคำ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ในรายวิชาการบัญชีเบื้องต้น 2 โดยใช้ชุดฝึกปฏิบัติเพื่อพัฒนา ผลสัมฤทธิ์ ผู้วิจัย ถาวร ประรงค์ทอง.
นายภิรักษ์ คำศรี ชื่อผลงานวิจัย : ชื่อผู้วิจัย :
นางสาวปุณณภา ฉัตรเดชาพล
โดย นางกรุณา อุประดิษฐ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่ ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การสร้างสรรค์งาน โฆษณาในรายวิชาการโฆษณา.
การใช้กระบวนการกลุ่ม เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน ในรายวิชา การบัญชีตั๋วเงินของ นักศึกษาระดับชั้น ปวช.2 แผนกวิชาการบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยี พณิชยการเชียงใหม่
สุนันทา โสรณสุทธิ์ ผู้วิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชย การ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
โดย นางสาวนิภาพร เถาคำแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค.)
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาการวางแผนและควบคุมโดยงบประมาณ ของนักศึกษา ปวส. 1 สาขาการบัญชี โดยชุดการสอน ผู้วิจัย นางนพรัตน์ สุวรรณโณ.
LOGO.  สำหรับผู้ที่เรียนในสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจนั้น หลักการ เขียนโปรแกรมเป็นอีกรายวิชาหนึ่งที่ผู้เรียนต้องมีความรู้และ ความเข้าใจ เพื่อให้ในการพัฒนาโปรแกรมและเพื่อนำไป.
ผู้เสนอ นางสาวนิภาพร วิริยะประกอบ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)
ความพึงพอใจของผู้เรียนต่อคุณภาพการสอนของครู แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ปีการศึกษา 2550 วิธีการวิจัยวัตถุประสงค์ ผลการศึกษา พบว่า โดยรวมนักเรียนมี ความพึงพอใจต่อคุณภาพ.
นางสาวทศพร ปินตาสม วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่


ผู้วิจัย การพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ VDO ช่วยสอน
นางสาวรัฏฐภรณ์ เหล็กไหล
นางสาวสาวิตรี โยธาจันทร์ คณะบริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
การพัฒนาทักษะการคำนวณเรื่องระบบเลขฐาน โดยใช้แบบฝึกทักษะของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นสูง ชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีพาณิชยการลานนา.
ปัญหาการวิจัย : 1. การพัฒนาของ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเพื่อเป็น แนวทางการศึกษาแบบใหม่ 2. พัฒนาทักษะและชักจูงความ สนใจของนักศึกษาให้สนใจต่อการ เรียนให้มากขึ้น.
นายเจตวัฒน์ สมเจริญเกียรติ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการสยาม ในพระอุปถัมภ์ฯ
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจกลุ่ม 821
ผู้วิจัย : นางธนิตา ขาวทอง วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยา สงขลา
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิชาสถิติเบื้องต้นเรื่องทฤษฎีความน่าจะเป็น เบื้องต้น Development of Computer Assisted Instruction for Introduction to.
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
นางนุชจรินทร์ แก้ววงวาล วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่

LOGO การพัฒนาผลสัมฤทธิ์การเรียนการ สอนในราย วิชาการบัญชีชั้นสูง 1 (3201 – 2004) เรื่องการบันทึกบัญชีที่ไม่สมบูรณ์ ของนักศึกษาระดับ ชั้น ปวส.2 สาขาการบัญชี
วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
ครูผู้สอนกลุ่มธุรกิจ
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน ในรายวิชาหลักเศรษฐศาสตร์ ด้วยวิธี เพื่อนช่วยเพื่อน ผู้วิจัย นาง นุสรา ปิยะศาสตร์ ตำแหน่ง ครูผู้สอน วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยา.
โดย นางสาวราตรี สมความคิด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรี ย่าน.

อาจารย์ประจำสาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
นางสุภาภรณ์ หงษ์ สุวรรณ วิทยาลัย อาชีวศึกษาดุสิต พณิชยการ นำเสนอ ประเภทที่ 1 วิจัยการเรียนการ สอน ( วิจัยชั้นเรียน ) นำเสนอ การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน.
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา(Educational Media)
การพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบ รายบุคคลทางการคำนวณและ การใช้สูตรฟังชั่นอย่างง่ายโดย โปรแกรม Microsoft Excel ในวิชาคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ เพื่องานอาชีพ ผู้วิจัย.
ประชิด เกิดมาก ผู้วิจัย. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาสภาพการจัดการเรียน การสอนด้วยจิกซอว์ 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนก่อนเรียน.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาการใช้โปรแกรมตาราง งานโดยวิธีการเรียนรู้แบบเพื่อน ช่วยเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้น ปีที่
วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง การพัฒนาสื่อการสอนเรื่องวงกลม โดยใช้ โปรแกรม The Geometer’ s Sketchpad (GSP) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/2 ผู้วิจัย นางสาวอังสนา อุตมูล.
วัตถุประสงค์การวิจัย
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลศรีย่าน
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ทำการวิจัยโดย นางรุ่งนภา ทินช่วย
ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาความสามารถด้านการพูดนำเสนอโปรแกรมท่องเที่ยวโดยใช้การสอนแบบบทบาทสมมุติ วิชาการตลาดเพื่อการท่องเที่ยวของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรชั้นปีที่
วิทยาลัยเทคโนโลยีลำปาง (แลมป์ – เทค)
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีการจัดการเพชรเกษม
นางนพรัตน์ สุวรรณโณ วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยาสงขลา
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ 8
นางอัชฌา เพ็งพินิจ นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
ว่าที่ร้อยตรีศิริพงษ์ สายหยุด ผู้วิจัย
นายเกียรติศักดิ์ คนธสิงห์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพายัพและบริหารธุรกิจ
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการพัฒนาการจัดการเรียนรู้
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผู้วิจัย : นางสาวสุรีรัตน์ ขันคำ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) เรื่อง การใช้สูตรและการคำนวณในโปรแกรม Microsoft Excel ในรายวิชา การใช้โปรแกรมตารางงาน รหัสวิชา 2201 – 2404 ผู้วิจัย : นางสาวสุรีรัตน์ ขันคำ วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่

ปัญหาการวิจัย นักเรียนขาดทักษะในการใช้งานโปรแกรม Microsoft Excel ซึ่งนักศึกษาสาขาการบัญชี จำเป็นต้องมีทักษะความเข้าใจในการใช้สูตรและการคำนวณ เพื่อนำไปพัฒนาและประยุกต์ใช้เกี่ยวกับงานด้านการบัญชี ซึ่งจะช่วยลดปัญหาการคำนวณเลขที่ผิดจากการใช้เครื่องคิดเลขและช่วยลดระยะเวลาในการคำนวณหาค่าต่างๆ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Excel เป็นตัวช่วย ครูผู้สอนเห็นความสำคัญของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ซึ่งประกอบไปด้วยเนื้อหาและสื่อการเรียน เพื่อให้ผู้เรียนใช้เรียนด้วยตนเองตามความสามารถของแต่ละบุคคล โดยสามารถทบทวนเนื้อหาได้ด้วยตนเอง โดยไม่จำกัดเรื่องเวลาในการเรียนรู้

วัตถุประสงค์การวิจัย 1. เพื่อสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) เรื่อง การใช้สูตรและการคำนวณในโปรแกรม Microsoft Excel ในรายวิชา การใช้โปรแกรมตารางงาน รหัสวิชา 2201 – 2404 2. เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การใช้สูตรและการคำนวณในโปรแกรม Microsoft Excel ในรายวิชา การใช้โปรแกรมตารางงาน รหัสวิชา 2201 – 2404 โดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ให้ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 60 3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาที่เรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ในรายวิชา การใช้โปรแกรมตารางงาน

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ผลการทดสอบ ประชากร(คน) คะแนนเต็ม ร้อยละ 14 20 17.29 86.43 จากตาราง พบว่าคะแนนการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรียนได้ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 17.29 หรือร้อยละ 86.43

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล รายการประเมิน ระดับวามคิดเห็น แปลผล 1 รูปภาพและแอนิเมชั่นกระตุ้นความสนใจ 4.00 มาก 2 เมนูหลักเชื่อมโยงบทเรียน/หน้าอื่นๆเหมาะสม 4.26 3 โครงสร้างของเนื้อหาชัดเจน สามารถเชื่อมโยงความรู้เดิมกับความรู้ใหม่ 4 สอดคล้องกับการประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอน 4.50 5 ความยากง่ายเหมาะสมกับระดับชั้นที่สอน 4.56 6 ใช้ภาษาถูกต้องและสื่อความหมาย เหมาะสมกับผู้เรียน 7 การนำเสนอเนื้อหาเหมาะสม 8 กระบวนการส่งเสริมกระบวนการคิด 3.86 9 ครอบคลุมเนื้อหาตามหลักสูตร 4.30 10 แบบฝึกหัดประกอบในบทเรียนเหมาะสม 3.80 11 แบบทดสอบประเมินผลการเรียนเหมาะสม รวมระดับคะแนนเฉลี่ย 4.17 นักเรียนมีความพึงพอใจมาก

สรุปผลการวิจัย 1. ผลการหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนหลังเรียนจากบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) เรื่อง การใช้สูตรและการคำนวณในโปรแกรม Microsoft Excel มีคะแนนจากการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน นักเรียนได้คะแนนสูงสด 20 คะแนน ต่ำสุด 15 คะแนน และค่าเฉลี่ยเท่ากับ 17.29 หรือร้อยละ 86.43 2. ผลการหาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) เรื่อง การใช้สูตรและการคำนวณในโปรแกรม Microsoft Excel นักเรียนมีระดับความต้องการบทเรียนมาก