คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ของผู้สำเร็จการศึกษา สาขาวิชาพณิชยการและ การจัดการธุรกิจท่องเที่ยว ระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ( ปวส.) ตามความต้องการของ สถานประกอบการ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผู้วิจัยโดย นางสาวกุลธิดา มีสัตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญภิวัฒน์
Advertisements

การใช้ชุดการสอนวิชาบัญชีเบื้องต้น 2 เรื่องการปรับปรุงบัญชี ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาพณิชยการ และการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
พัฒนศักดิ์ จิณะวงค์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
ชื่อผู้วิจัย นางดวงใจ สารภี อาจารย์กลุ่มวิชาบัญชี
การใช้เกมการศึกษาในการพัฒนาทักษะการจดจำคำศัพท์ภาษาอังกฤษของ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปีที่ 2 สาขายานยนต์ (ชย.2101) วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
เอื้อมพร ธาตุทำเล.
วิทยาลัยเทคโนโลยีกิตติบริหารธุรกิจ Kitti Business Administration Technological College ชื่อเรื่อง “พฤติกรรมการใช้โปรแกรม Microsoft Office ของ นักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ.
ผู้วิจัย อาจารอุบลรัตน์ น้อยสำแดง
ปี 2 ห้อง 1 โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี ”
ชื่อเรื่อง พฤติกรรมการเข้าชั้นเรียนไม่ ตรงต่อเวลาในวิชาการพัฒนางานด้วย ระบบ คุณภาพ - และ เพิ่มผลผลิต ของนักศึกษา ชั้น ปวส ปีที่ 1 ผู้วิจัย นางสาววัชราภรณ์
ผู้วิจัย นางบุญนภัส รินทร์คำ วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีราชา.
นางสาวนิสรีน อัศวะ วิวัฒน์กุล. การปฏิบัติที่ซ้ำซ้อน มีขั้นตอนในการ ปฏิบัติงานหลายขั้นตอน ทำให้การจัดทำ เอกสารต่าง ๆ ล่าช้าและเป็นการเพิ่มภาระ งานโดยไม่จำเป็น.
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)
นางสาวทศพร ปินตาสม วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
แบบสอบถาม (Questionnaire)
การศึกษาความพึงพอใจ ของนักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีโป ลิเทคนิคลานา เชียงใหม่ ต่ออาจารย์ผู้สอนตามความคิดเห็น ของนักศึกษา.
นางบัววิไล แก้วอู๋ ผู้วิจัย
การใช้โครงงานภาษาอังกฤษ เรื่อง
นางสาวรัฏฐภรณ์ เหล็กไหล
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
นายศุภพล มงคลเจริญพันธ์
ความคิดเห็นของหัวหน้าสถานประกอบการต่อการฝึกงานของนักศึกษา ระดับปวส
ชื่อเรื่อง ผลการใช้เทคนิคการเรียนแบบร่วมมือที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ของการเรียนวิชางานวัดละเอียดช่างยนต์ของนักศึกษาชั้น ปวช.2 สาขางานยานยนต์ โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
การบริหารโดยใช้รูปแบบบูรณาการด้านงานวิชาการและ การจัดการเรียนการสอน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสำหรับแก้ปัญหา การจัดทำวิจัย กรณีศึกษา : วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา.
ผู้วิจัย นายธีรภัทร พึ่งเนตร
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจกลุ่ม 821
อาจารย์อัครชัย ปัญญาคม
นางนุชจรินทร์ แก้ววงวาล วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
การพัฒนาบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรมสำเร็จรูปในงานอาชีพ
in the Second Semester of 2013
The Students’ Opinion on Learning Management of Report Financial Analysis Course นายวิทยา ยิ่งนคร ผู้วิจัย บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต ( การบัญชี ) วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรบริหารธุรกิจ.
ตอนที่ 4 ชื่อเรื่อง คุณลักษณะของบุคลากรทางการศึกษา ที่เอื้อต่อการปฏิรูปการศึกษา ผู้วิจัย รศ. ดร. สุวิมล ว่องวานิช คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปีที่วิจัย.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
การประเมินผลการนำนโยบาย การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ไปปฏิบัติของ กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและ เยาวชน ผู้วิจัย กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน กระทรวงยุติธรรม.
 จัดเตรียมแรงงานคุณภาพ ให้ตรงตามความต้อง ของภาคอุตสาหกรรม  จำเป็นต้องพัฒนาให้ทันกับเทคโนโลยีใหม่ ๆ สามารถปฏิบัติได้จริง  หลักสูตรที่มุ่งผลิตและพัฒนาแรงงานระดับฝีมือ.
การประเมินผลการใช้โปรแกรมสำเร็จรูป BC Account Version 5.5 Standard สำหรับงานบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่ พลอย ประสงค์ทรัพย์ กลุ่มงานบัญชี
วิทยาลัยเทคโนโลยีสาร สาสน์ Sarasas Technological College นางสาวธัชชา สิงควะ นิช 2558.
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชาการจัดเก็บเอกสารของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 ที่ใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบ ร่วมมือ เทคนิคจิ๊กซอว์กับการสอนแบบปกติ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
โดย.. นายณัฐวัชต์ บุญมา. 1) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาต่อระบบการ ให้บริการสารสนเทศนักศึกษาออนไลน์ วิทยาลัย เทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่ ประจำปี
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาการใช้โปรแกรมตาราง งานโดยวิธีการเรียนรู้แบบเพื่อน ช่วยเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้น ปีที่
ความพึงพอใจต่อการบริหาร จัดการโครงการเรียนรู้จาก ประสบการณ์จริงด้วยวิธีการ เรียนรู้แบบศึกษาดูงาน บริหารธุรกิจสาขาการจัดการ / การตลาด ภาคเรียนที่ 2/2556.
1 วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู ความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมการเรียน การสอนวิชาลูกเสือของครูวิทยาลัย เทคโนโลยีหมู่บ้านครู กรุงเทพมหานคร สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม.
ความพึงพอใจที่มีต่อ ประสิทธิภาพ การ ปฏิบัติงานธุรการ นางพนิดา ชวนประเสริฐ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
การศึกษาเจตคติต่อวิชาการเก็บเอกสาร ของผู้เรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปวช. 206 วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชยการ ผู้วิจัย นางสุพัณณรัฎฐ์ ประชานิยม.
แผนกการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น โดยใช้รูปแบบการ
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ทำการวิจัยโดย นางรุ่งนภา ทินช่วย
การศึกษากระบวนการดำเนินการพัฒนาวิทยาลัยแบบมีส่วนร่วม
วิทยาลัยเทคโนโลยี ดอนบอสโกสุราษฎร์
      วิจัย เรื่อง การประเมินผลการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน ของสำนักงานประกันคุณภาพและงานวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการอยุธยา ปีการศึกษา 2556.
ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาความสามารถด้านการพูดนำเสนอโปรแกรมท่องเที่ยวโดยใช้การสอนแบบบทบาทสมมุติ วิชาการตลาดเพื่อการท่องเที่ยวของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรชั้นปีที่
การพัฒนาบุคลิกภาพด้านการแสดงออกของผู้เรียน
วิทยาลัยเทคโนโลยีพาณิชยการลานนา จังหวัดเชียงใหม่
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
นางสาวสุภาวดี นุกุลเสาวลักษณ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ 2559
กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยนี้สำเร็จได้ด้วยความอนุเคราะห์ของบุคคลหลายท่านซึ่งไม่สามารถกล่าวไว้ในที่นี้ได้ทั้งหมดทุกท่าน ซึ่งท่านแรก ผู้จัดทำต้องขอขอบคุณ.
ให้สร้างแบบสอบถามออนไลน์
การใช้ชุดฝึกปฏิบัติ เพื่อพัฒนาการอ่านออกเสียงเสียงท้าย - ts , st
Miniresearch งานผู้ป่วยนอก.
นายเกียรติศักดิ์ คนธสิงห์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพายัพและบริหารธุรกิจ
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการพัฒนาการจัดการเรียนรู้
ว่าที่ พ.ต.โกเมศ พุทโทสาวะโก
การพัฒนาระบบการให้บริการอินเทอร์เน็ตอัตโนมัติ โดยใช้รายการควบคุม
วิธีการแก้ปัญหาการอธิบายกลไกลการทำงานเกียร์ขับเคลื่อนล้อหลัง 5 สปีด
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ของผู้สำเร็จการศึกษา สาขาวิชาพณิชยการและ การจัดการธุรกิจท่องเที่ยว ระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ( ปวส.) ตามความต้องการของ สถานประกอบการ ในจังหวัดเชียงใหม่ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ของผู้สำเร็จการศึกษา สาขาวิชาพณิชยการและ การจัดการธุรกิจท่องเที่ยว ระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ( ปวส.) ตามความต้องการของ สถานประกอบการ ในจังหวัดเชียงใหม่ นางสาวฐิตาภรณ์ นิ่มเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิค ลานนา เชียงใหม่ นางสาวฐิตาภรณ์ นิ่มเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิค ลานนา เชียงใหม่

ปัญหาการวิจัย สาขาวิชาพณิชยการและการ จัดการธุรกิจท่องเที่ยว วิทยาลัย เทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่ มีความต้องการที่จะผลิตบุคลากร ผู้สำเร็จการศึกษาในระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงเพื่อ เข้าสู่ตลาดแรงงาน และให้ สอดคล้องกับความต้องการของ สถานประกอบการในจังหวัด เชียงใหม่

วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาคุณลักษณะตามสภาพจริงของ ผู้สำเร็จการศึกษา สาขาวิชาพณิชยการและการจัดการธุรกิจ ท่องเที่ยว ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ( ปวส.) ตามความต้องการของ สถานประกอบการในจังหวัดเชียงใหม่ 2. เพื่อศึกษาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของ ผู้สำเร็จการศึกษา สาขาวิชาพณิชยการและการจัดการธุรกิจ ท่องเที่ยว ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ( ปวส.) ตามความต้องการของ สถานประกอบการในจังหวัดเชียงใหม่

วัตถุประสงค์ ( ต่อ ) 3. เพื่อศึกษาเปรียบเทียบคุณลักษณะตาม สภาพจริง และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของ ผู้สำเร็จการศึกษาสาขาวิชาพณิชยการและการ จัดการธุรกิจท่องเที่ยว ระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ( ปวส.) ตาม ความต้องการของสถานประกอบการในจังหวัด เชียงใหม่ 4. เพื่อศึกษาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของ ผู้สำเร็จการศึกษาสาขาวิชาการศึกษา สาขาวิชาพณิชยการและการจัดการธุรกิจ ท่องเที่ยว ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ( ปวส.) ตามข้อเสนอแนะของสถาน ประกอบการในจังหวัดเชียงใหม่

ประชากร ประชากรที่ใช้ศึกษาครั้งนี้ คือ สถานประกอบการในจังหวัดเชียงใหม่ ที่มีผู้สำเร็จการศึกษาสาขาวิชา พณิชยการและการจัดการธุรกิจ ท่องเที่ยวระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ที่ปฏิบัติงานอยู่ในปัจจุบัน จำนวน 19 แห่ง โดยใช้วิธีการเก็บข้อมูลแบบ เฉพาะเจาะจง

เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บ ข้อมูล ตอนที่ 1 เป็นแบบสอบถามสถานภาพส่วนตัว เกี่ยวกับผู้ตอบแบบสอบถามเป็นแบบสอบถาม แบบตรวจสอบรายการ (check list) ตอนที่ 2 เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับระดับ ความสำคัญของคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของ ผู้สำเร็จการศึกษาฯ เป็นแบบสอบถาม แบบมาตรา ส่วนประมาณค่า (rating scale) มีตัวเลือก 5 ระดับ ตามแนวของลิเคิร์ท (Likert’s Scale) ตอนที่ 3 สอบถามเกี่ยวกับข้อเสนอแนะ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้สำเร็จการศึกษา ฯ 4 ด้าน ได้แก่ ด้านความรู้และทักษะวิชาชีพด้าน เจตคติและลักษณะนิสัยด้านความรับผิดชอบและ ด้านมนุษยสัมพันธ์ ลักษณะของแบบสอบถามเป็น แบบปลายเปิด (open ended) แบบสอบถามเพื่อการวิจัย จำนวน 3 ตอน

สรุปผลการศึกษา 1. ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบ แบบสอบถาม เป็นผู้บริหารสถาน ประกอบการ เป็นเพศชายมากกว่าเพศ หญิง โดยมีอายุระหว่าง ปี ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มี ตำแหน่งเจ้าของกิจการ มีระดับ การศึกษาระดับปริญญาตรี และมี ประสบการณ์ในการทำงานมากกว่า 10 ปี

สรุปผลการศึกษา 2. ความคิดเห็นของสถานประกอบการ เกี่ยวกับคุณลักษณะตามสภาพจริงของ ผู้สำเร็จการศึกษา สาขาวิชาพณิชยการ และการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ( ปวส.) ใน จังหวัดเชียงใหม่ โดยภาพรวมอยู่ในระดับ ปานกลาง 3. ความคิดเห็นของสถานประกอบการ เกี่ยวกับคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของ ผู้สำเร็จการศึกษา สาขาวิชาพณิชยการ และ การจัดการธุรกิจท่องเที่ยว ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ( ปวส.) ใน จังหวัดเชียงใหม่ โดยภาพรวมอยู่ในระดับ มาก

สรุปผลการศึกษา 4. ผลเปรียบเทียบคุณลักษณะตามสภาพ จริงและ คุณลักษณะที่ พึงประสงค์ของผู้สำเร็จการศึกษา สาขาวิชาพณิชยการและ การจัดการธุรกิจท่องเที่ยว ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ( ปวส.) มี คุณลักษณะตามสภาพจริงของผู้สำเร็จ การศึกษา ต่ำกว่า คุณลักษณะที่พึงประสงค์