ภาวะเศรษฐกิจการเกษตร จังหวัดนครราชสีมา ปี 2557 และแนวโน้ม ปี 2558

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การนำเข้าสินค้าเกษตร ตามพันธกรณีความตกลงระหว่างประเทศ
Advertisements

โปรแกรมขึ้นทะเบียนเกษตรกร ผู้ปลูกข้าวนาปี ปี 2557/58
แนวทางการจัดทำบัญชีสมดุลยางพารา
แนวทางการจัดทำบัญชีสมดุลผลไม้
มันสำปะหลัง.
แผนงาน ส่งเสริมประสิทธิภาพการผลิตและสร้างมูลค่าภาค การเกษตร ผลผลิตที่ 3 สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการพัฒนาการ ดำเนินธุรกิจ กิจกรรมหลัก ส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจของสหกรณ์และ.
สุกร ส่วนวิจัยเศรษฐกิจปศุสัตว์และประมง สำนักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร
ส่วนวิจัยเศรษฐกิจปศุสัตว์และประมง สำนักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร
หอมแดง.
ความเป็นมาการประกันภัยพืชผลในประเทศไทย
ปี 2556 พื้นที่ทั้งหมด 7,140,633 ไร่ เนื้อที่ถือครองทางการเกษตร 2,614,820 ไร่ ข้าวนาปีและข้าวไร่ 460,764 ไร่ พืชไร่เศรษฐกิจที่สำคัญ 1,334,357.
Entity-Relationship Model E-R Model
การจัดการศูนย์สารสนเทศ หน่วยที่ 10 “ ความร่วมมือในการบริการ สารสนเทศ ” อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข.
ผลการดำเนินงานควบคุมป้องกันโรคเอดส์
ลานเทปาล์มน้ำมัน ตำบลนาเหนือ
สรุปสถานการณ์การ ระบาดเพลี้ยแป้ง ระหว่างวันที่ สิงหาคม 2554.
ข้อมูลพื้นฐานการเกษตร สำนักงานเกษตรอำเภอเต่างอย
1. 2 กิจกรรมหลัก ส่งเสริมและพัฒนา องค์กรและเกษตรกร ที่ตัวชี้วัด หน่วยนับ แผนผล % หมายเหตุ 1 สหกรณ์ผ่านเกณฑ์มาตรฐานแห่ง กลุ่มเกษตรกรผ่านเกณฑ์มาตรฐานแห่ง.
กิจกรร ม 1 กิจกรร ม 3 กิจกรร ม 2 ส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมแผนผลร้อยละ 1. สหกรณ์ / กลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและ พัฒนาธุรกิจ.
สกลนครโมเดล.
S m a r t O f f i c e สำนักงานเกษตรอำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร
ข้อมูล ณ วันที่ 21 เมษายน กิจกรรม งบประมา ณ ยอด เบิกจ่าย จริง ร้อยละการ เบิกจ่าย แหล่งเบิกจ่าย พัฒนาสุขภาพ กลุ่มวัย 1,000, รพ. มหาราช นครศรีธรรมราช.
บทที่2 การวางแผนการผลิตและกำลังการผลิต
ภัยธรรมชาติและการระวังภัย
ประชาคมอาเซียน.
การประชุมประจำเดือนครั้งที่ 5-6/2558
การกระทำผิดกฏหมายเกี่ยวกับการป่าไม้
การปรับโครงสร้างการผลิตเป็นแปลงใหญ่
การดำเนินการหลังการประกาศ การชะลอการเพาะปลูกข้าวนาปีใน พื้นที่ลุ่มน้ำเจ้าพระยา ปี 2558/59 กรมส่งเสริม การเกษตร.
รายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 3 ประจำเดือน มีนาคม 2558.
ความต้องการ ทางด้านการเงิน และ การส่งเสริมความรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต ความต้องการ ทางด้านการเงิน และ การส่งเสริมความรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต บริหารการจัดการ.
โครงการเมืองเกษตรสีเขียว ปี 2557
ธนาคารมูลฝอยเคลื่อนที่
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
กลุ่มออกแบบและก่อสร้าง สำนัก อำนวยการ สพฐ.
แนวโน้มอุณหภูมิที่ส่งผล ต่อปริมาณการผลิตลิ้นจี่ ในจังหวัดเชียงราย นายทยากร พร มโน รหัส
การมอบนโยบายแนวทาง การปฏิรูปที่ดินประจำปี 2559 โดย นายสรรเสริญ อัจจุตมานัส เลขาธิการ ส. ป. ก.
คนเป็นทรัพย์สินที่มี ค่ายิ่งของหน่วย อ้างอิง : สมาคมการจัดการงานบุคคลแห่งประเทศไทย คน เก่ง คน ดี คน มี ความ สุข เป้าหมายการ พัฒนากำลังพล เพื่อให้ทำงานอย่าง.
ความรู้ด้านงานธุรการ งาน สารบรรณ งานการเงินและพัสดุเบื้องต้น สำหรับข้าราชการและ เจ้าหน้าที่ ที่ปฏิบัติงานด้านการป้องกัน รักษาป่า ธุรการและสาร บรรณ การเงิน.
ผังบริหารจัดการน้ำลุ่มน้ำแม่ต้า เอกสารประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการรับฟังความคิดเห็นสาธารณะ “การรู้จักตนเองและทรัพยากรของเรา : กุญแจสู่การจัดการทรัพยากรน้ำแบบบูรณาการและยั่งยืน.
งบประมาณและความช่วยเหลือ
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
ปัจจัยแห่งความสำเร็จ
การสัมมนาวิชาการ สมาคมนักวิจัยและเพาะเห็ดหอมแห่งประเทศไทย เรื่อง เห็ดไทย ... กับการก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน วันศุกร์ที่ 11 พฤษภาคม 2555 ณ โรงแรมเอเชียแอร์พอร์ต.
Design by Agri - Map สำนักงานชลประทานที่ ๘.
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
ยินดีต้อนรับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน (พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์) และคณะ ในโอกาสตรวจเยี่ยมจังหวัดตาก วันที่ กรกฎาคม 2558.
แนวทางปฏิบัติ กรมป่าไม้
โครงสร้างมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
มาทำความรู้จักกับ เห็ดโคนหลวง.
การวิเคราะห์ข้อมูลเรื่องข้าว เพื่อการทบทวนประเด็นยุทธศาสตร์
สถานการณ์โลก การผลิต - พื้นที่ปลูก - ปริมาณผลผลิต - ชนิดพันธุ์
นโยบายการพัฒนาด้านการเกษตรของไทย
เรียนรู้จากการปฏิบัติ
โรคใบด่างมันสำปะหลัง
การเตรียมการป้องกันและแก้ปัญหาภัยแล้ง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
เข้าใจตนเอง เข้าใจสาขา
บทที่ 3 โรงเรือนและอุปกรณ์โคเนื้อ
การวิเคราะห์ข้อมูลเรื่องข้าว (Rice Analysis)
ทรัพยากรไทย:ก้าวสู่โลกกว้างอย่างมั่นใจ
การวิเคราะห์ข้อมูลเรื่องข้าว เพื่อการทบทวนประเด็นยุทธศาสตร์
สาขาสุขภาพช่องปาก เขตสุขภาพที่ 2
ชื่อบริษัท รูปภาพของบริษัท. โครงการขยายผลการส่งเสริมการจัดทำคาร์บอนฟุตพริ้นท์ขององค์กร ในภาคอุตสาหกรรม ระยะที่ 6.
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 3 ธันวาคม 2557 ข้อมูล ณ เวลา น. www
ระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่
ตอนที่ 4.3 กรณีศึกษา : การสร้างเสริมประสิทธิภาพ งานส่งเสริมการเกษตร สำนักงานอำเภอน้ำปาด จังหวัดอุตรดิตถ์ ตอนที่ กรณีศึกษา : การจัดการความรู้
กฎหมายระเบียบและนโยบายที่เกี่ยวข้อง
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 2 พฤศจิกายน 2557 ข้อมูล ณ เวลา น. และ
โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาราชบุรีฝั่งซ้าย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ภาวะเศรษฐกิจการเกษตร จังหวัดนครราชสีมา ปี 2557 และแนวโน้ม ปี 2558 ภาวะเศรษฐกิจการเกษตร จังหวัดนครราชสีมา ปี 2557 และแนวโน้ม ปี 2558 โดย สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรเขต 5

ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดนครราชสีมา โครงสร้างผลิตภัณฑ์มวลรวม ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด ณ ราคาคงที่ของจังหวัดนครราชสีมา ปี 2555 โดย สาขาอื่นๆ อาทิ การทำเหมืองแร่ การไฟฟ้า ก่อสร้าง โรงแรม ซึ่งรวมกันแล้วอยู่ร้อยละ 32.8ส่วนสาขาเกษตรกรรมและประมงมีสัดส่วนร้อยละ 12.0 สาขาการผลิต ทั้งหมด 16 สาขา (1) การเกษตรกรรม การล่าสัตว์ และการป่าไม้ (A) (2) การประมง (B) (3) การทาเหมืองแร่ และเหมืองหิน (C) (4) การอุตสาหกรรม (D) (5) การไฟฟ้า ก๊าซ และการประปา (E) (6) การก่อสร้าง (F) (7) การขายส่ง การขายปลีก การซ่อมแซมยานยนต์ และของใช้ (G) (8) โรงแรม และภัตตาคาร (H) (9) การขนส่ง สถานที่เก็บสินค้า และการคมนาคม (I) (10) ตัวกลางทางการเงิน (J) (11) บริการด้านอสังหาริมทรัพย์ การให้เช่า และบริการทางธุรกิจ (K) (12) การบริหารราชการแผ่นดิน การป้องกันประเทศ แบะการประกันสังคมภาคบังคับ ( L) (13) การศึกษา (M) (14) การบริการสุขภาพ และสังคมสงเคราะห์ (N) (15) การบริการชุมชน สังคม และส่วนบุคคล (O) (16) ลูกจ้างในครัวเรือนส่วนบุคคล (P)

ภาพรวมเศรษฐกิจการเกษตรจังหวัดนครราชสีมา สัดส่วน GPP รายสาขาต่อ GPP ภาคเกษตร สาขาการผลิตทางการเกษตรที่สำคัญของจังหวัด นครราชสีมา ในช่วงปี 2557 ได้แก่ สาขาพืช ซึ่งมีสัดส่วนถึงร้อยละ 69.4 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดภาคเกษตร หรือ GPP ภาคเกษตร รองลงมาคือ สาขาปศุสัตว์ บริการทางการเกษตร ประมง และป่าไม้ คิดเป็นร้อยละ 21.7 6.4 2.3 และ 0.2 ตามลำดับ

ภาวะเศรษฐกิจการเกษตร ปี 2557

ภาวะเศรษฐกิจการเกษตร ปี 2557 ภาวะเศรษฐกิจการเกษตร ปี 2557 - 3.6 % พืช ปศุสัตว์ ประมง บริการทาง การเกษตร ป่าไม้ - 0.8 % - 12.8 % 4.7 % - 0.5 % - 0.6 % ภาวะเศรษฐกิจการเกษตรปี 2557 หดตัวร้อยละ 3.6 เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา โดยสินค้าเกษตรที่สำคัญของจังหวัด ได้แก่ ข้าวนาปี มันสำปะหลัง ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ และโคเนื้อ มีปริมาณลดลง โดยที่สาขาพืชหดตัวร้อยละ 0.8 สาขาปศุสัตว์หดตัวร้อยละ 12.8 สาขาประมงขยายตัวร้อยละ 4.7 สาขาป่าไม้หดตัวร้อยละ 0.6 และสาขาการบริการทางการเกษตรหดตัวร้อยละ 0.5 โดยมีปัจจัยสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อภาคเกษตร ได้แก่ ปริมาณน้ำฝนที่ลดลง เนื่องจากภาวะฝนแล้ง พื้นที่เพาะปลูกเสียหายและผลผลิตต่อไร่ลดลง ประกอบกับระดับราคาพืชผลทางการเกษตรทรงตัวและมีแนวโน้มลดลง

สาขาพืช หดตัวร้อยละ 0.8 ปริมาณน้ำฝนน้อยลง ผลผลิตมันสำปะหลัง ข้าวนาปี ข้าวนาปรังลดลง มันสำปะหลังโรงงานซึ่งเป็นพืชเศรษฐกิจที่สำคัญ โดยจังหวัดนครราชสีมามีพื้นที่ปลูกมากที่สุดของประเทศไทย มีปริมาณผลผลิตลดลงร้อยละ 3.5 รวมทั้งข้าวนาปี ข้าวนาปรัง และข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ มีพื้นที่เพาะปลูกและผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ลดลงด้วย ทำให้ปริมาณลดลง ส่งผลให้ GPP สาขาพืชในปี 2557 หดตัวร้อยละ 0.8

สาขาปศุสัตว์ หดตัวร้อยละ 12.8 ปัญหาโรคระบาด เช่น โรคปากและเท้าเปื่อยในโคเนื้อ ราคาแม่พันธุ์ปศุสัตว์มีราคาสูงขึ้น การผลิตสาขาปศุสัตว์ในปี 2557 หดตัวร้อยละ 12.8 เมื่อเทียบกับปี 2556 พิจารณาจากเครื่องชี้จำนวนอาชญาบัตรโคลดลง ประกอบกับสภาพอากาศที่แปรปรวนและปัญหาโรคระบาด และข้อจำกัดด้านพื้นที่และเงินทุนในการซื้อแม่พันธุ์มีราคาที่สูงขึ้น ส่วนด้านราคาสินค้าปศุสัตว์โดยรวมอยู่ในเกณฑ์ดี

สาขาประมง ขยายตัวร้อยละ 4.7 ขยายตัวร้อยละ 4.7 ปริมาณการจับสัตว์น้ำจากแหล่งน้ำธรรมชาติ และ การเพาะเลี้ยงเพิ่มมากขึ้น เนื่องจาก สถานการณ์ในแหล่งผลิตที่สำคัญของจังหวัดอยู่ในภาวะปกติ ทำให้การจับสัตว์น้ำจากแหล่งน้ำธรรมชาติได้ปริมาณมากขึ้น รวมทั้งการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืดเพิ่มมากขึ้น ประกอบกับมีการสนับสนุนให้เลี้ยงปลาในบ่อดินจึงส่งผลทำให้สาขาประมงขยายตัวเพิ่มขึ้นไปด้วย

สาขาบริการทางการเกษตร หดตัวร้อยละ 0.5 พื้นที่เพาะปลูกและพื้นที่เก็บเกี่ยวลดลง การบริการทางการเกษตรจึงลดลงตามไปด้วย เนื่องจากพื้นที่เพาะปลูกพืชไร่ ได้แก่ มันสำปะหลัง ข้าวนาปี ข้าวนาปรัง และข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ลดลง ทำให้มีการจ้างบริการรถไถและรถแทรกเตอร์ในการเตรียมดินและไถพรวนดิน ส่งผลให้รถเก็บเกี่ยวผลผลิตลดลงตามไปด้วย

สาขาป่าไม้ หดตัวร้อยละ 0.6 การตัดไม้ยังไม่มากนักเพราะยังไม่ครบอายุการใช้งาน การเก็บของป่า เห็ด ฟืนและถ่านลดลง การตัดไม้ลดลง เนื่องจากไม้ที่ปลูกอยู่ยังไม่ครรอบอายุของการที่จะไปใช้งานได้ รวมทั้งการเก็บของป่า เห็ด ฟืนและถ่านลดลง

แนวโน้มเศรษฐกิจการเกษตร ปี 2558

แนวโน้มเศรษฐกิจการเกษตร ปี 2558 (-0.2) – 0.8 % พืช ปศุสัตว์ ประมง บริการทาง การเกษตร ป่าไม้ (-0.5) -0.5% 0.9-1.9 % (-0.5)-0.5 % (-0.1)-0.9% (-0.9)-0.1% สาขาพืช คาดว่าอัตราการเจริญเติบโตอยู่ในช่วงร้อยละ (-0.5) – 0.5 เนื่องจากราคาผลผลิตพืชในปี 2557 อยู่ในเกณฑ์ดี โดยเฉพาะมันสำปะหลัง ซึ่งเป็นพืชเศรษฐกิจของจังหวัด จึงเป็นแรงจูงใจให้เกษตรกรเพาะปลูกอยู่ โดยผลผลิตข้าวนาปรังลดลง จากการลดลงพื้นที่เพาะปลูก ในขณะที่ข้าวนาปี เกษตรกรบางส่วนปรับไปปลูกอ้อยโรงงาน ซึ่งให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า รวมทั้งคาดว่าฝนมาล่าช้า ปริมาณน้ำฝนจะไม่เพียงพอ สาขาปศุสัตว์ คาดว่าจะขยายตัวอยู่ในช่วงร้อยละ 0.9 – 1.9 เนื่องจากปริมาณการผลิตปศุสัตว์มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น เพราะผู้เลี้ยงและปศุสัตว์จังหวัดมีความร่วมมือกัน จึงสามารถควบคุมและป้องกันโรคจากภายนอกได้ สาขาประมง คาดว่าอัตราการการเจริญเติบโตอยู่ในช่วงร้อยละ (-0.5) – 0.5 เนื่องจากปริมาณการผลิตประมงโดยเฉพาะการจับสัตว์น้ำจืดจากแหล่งน้ำธรรมชาติมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น สาขาการบริการทางการเกษตร คาดว่าอัตราการการเจริญเติบโตของอยู่ในช่วงร้อยละ (-0.1) – 0.9 เป็นผลจากสาขาพืชที่ขยายพื้นที่การเพาะปลูกกันมากขึ้นซึ่งส่งผลต่อการเก็บเกี่ยวผลผลิตจะมากขึ้นตามไปด้วยเช่นกัน สาขาป่าไม้ คาดว่าอัตราการการเจริญเติบโตอยู่ในช่วงร้อยละ (-0.9) – 0.1 เนื่องจากการเจริญเติบโตของไม้จะถึงรอบอายุ ที่สามารถการตัดไปใช้งานได้

จบการนำเสนอ