งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แนวทางการจัดทำบัญชีสมดุลผลไม้

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แนวทางการจัดทำบัญชีสมดุลผลไม้"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แนวทางการจัดทำบัญชีสมดุลผลไม้
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

2 โครงสร้างสินค้าทุเรียน
ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ การผลิตปี 2557 เนื้อที่ให้ผล ล้านไร่ ผลผลิต ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 1,107 กก. แหล่งผลิตสำคัญ : จันทบุรี(29%) ชุมพร(19%) ระยอง (10%) ยะลา(7%) นครศรีธรรมราช (6%) ช่วง Peak : ภาคตะวันออก (มิ.ย.) ภาคใต้ (ส.ค.) ส่งออกตลาดต่างประเทศ ปี 2557 ปริมาณ ล้านตัน มูลค่า 13,843 ล้านบาท สด 12,436 ลบ. (89%) แช่แข็ง 1,131 ลบ. (8%) กวน 58 ลบ. (0.5%) อบแห้ง 218 ลบ. (1.5%) ผู้รวบรวม (ล้ง) / ผู้ส่งออก โรงงานแปรรูป เกษตรกร 100% สถาบัน เกษตรกร ห้างสรรพสินค้า Modern Trade ตลาดสำคัญ สด (ฮ่องกง จีน ไต้หวัน ) แช่แข็ง (จีน อเมริกา แคนาดา ) กวน (อังกฤษ รัสเซีย ฮ่องกง ) อบแห้ง (จีน ฮ่องกง เมียนมาร์) (บาท/กก.) 2555 2556 2557 หมอนทอง 31.92 40.45 34.29 ชะนี 19.80 15.14 23.76 ต้นทุน 16.81 16.23 15.12 ตลาดกลาง กทม. (ตลาดไท/ สี่มุมเมือง) พ่อค้ารวบรวม ท้องถิ่น ยุทธศาสตร์ผลไม้ไทย ปี กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาศักยภาพการผลิต เช่น การเพิ่ม ประสิทธิภาพการผลิต การผลิตนอกฤดู การจัดการ หลังเก็บเกี่ยว สร้างความเข้มแข็งของกลุ่มผู้ผลิต สร้างเครือข่ายการผลิตการตลาด พัฒนาฐานข้อมูลผลไม้ กลยุทธ์ที่ 2 พัฒนาตลาดในประเทศ เช่น เพิ่มประสิทธิภาพ ส่งเสริมการกระจายนอกแหล่งผลิต ส่งเสริมการบริโภค เพิ่มประสิทธิภาพการกำกับดูแลการนำเข้าผลไม้ กลยุทธ์ที่ 3 พัฒนาตลาดส่งออก เช่น สนับสนุนการตั้งศูนย์กระจายสินค้าในต่างประเทศ แก้ไขกฎระเบียบ การส่งออก/นำเข้า พัฒนาระบบ Logistics ผู้บริโภคในประเทศ ตลาดขายส่ง ในจังหวัด ตลาดขายปลีก ในจังหวัด อัตราแปลง สด 6 กก. = ทุเรียนกวน 1 กก. สด 10 กก. = ทุเรียนอบแห้ง 1 กก. สด 1 กก. = ทุเรียนแช่แข็ง 1 กก.

3 โครงสร้างสินค้ามังคุด
ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ การผลิตปี 2557 เนื้อที่ให้ผล ล้านไร่ ผลผลิต ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 701 กก. แหล่งผลิตสำคัญ : จันทบุรี(30%) นครศรีธรรมราช (19%) ชุมพร(13%) ตราด(8%) ระยอง(6%) ช่วง Peak : ภาคตะวันออก (มิ.ย.) ภาคใต้ (ส.ค.-ก.ย.) ผู้รวบรวม (ล้ง) / ผู้ส่งออก ส่งออกตลาดต่างประเทศ ปี 2557 ปริมาณ ล้านตัน มูลค่า 4,835 ล้านบาท สด 4,780 ลบ. (98%) แช่แข็ง 55 ลบ. (2%) ห้างสรรพสินค้า Modern Trade ตลาดสำคัญ สด (เวียดนาม จีน ฮ่องกง) แช่แข็ง (เกาหลีใต้ ไต้หวัน ญี่ปุ่น) สถาบัน เกษตรกร เกษตรกร 100% (บาท/กก.) 2555 2556 2557 เกรดคละ 17.04 18.90 20.18 ต้นทุน 16.26 13.55 13.39 ตลาดกลาง กทม. (ตลาดไท/ สี่มุมเมือง) พ่อค้ารวบรวม ท้องถิ่น ยุทธศาสตร์ผลไม้ไทย ปี กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาศักยภาพการผลิต เช่น การเพิ่ม ประสิทธิภาพการผลิต การผลิตนอกฤดู การจัดการ หลังเก็บเกี่ยว สร้างความเข้มแข็งของกลุ่มผู้ผลิต สร้างเครือข่ายการผลิตการตลาด พัฒนาฐานข้อมูลผลไม้ กลยุทธ์ที่ 2 พัฒนาตลาดในประเทศ เช่น เพิ่มประสิทธิภาพ ส่งเสริมการกระจายนอกแหล่งผลิต ส่งเสริมการบริโภค เพิ่มประสิทธิภาพการกำกับดูแลการนำเข้าผลไม้ กลยุทธ์ที่ 3 พัฒนาตลาดส่งออก เช่น สนับสนุนการตั้งศูนย์กระจายสินค้าในต่างประเทศ แก้ไขกฎระเบียบ การส่งออก/นำเข้า พัฒนาระบบ Logistics ผู้บริโภคในประเทศ ตลาดขายส่ง ในจังหวัด ตลาดขายปลีก ในจังหวัด อัตราแปลง สด 1 กก = มังคุดแช่แข็ง 1 กก.

4 โครงสร้างสินค้าเงาะ ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ ผู้รวบรวม (ล้ง) / ผู้ส่งออก
การผลิตปี 2557 พ.ท. ให้ผล ล้านไร่ ผลผลิต ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 1,136 กก. แหล่งผลิตสำคัญ : จันทบุรี (28%) ตราด (16%) สุราษฎร์ธานี (12%) นครศรีธรรมราช (12%) นราธิวาส (9%) ช่วง Peak : ภาคตะวันออก (มิ.ย.) ภาคใต้ (ส.ค.-ก.ย.) ส่งออกตลาดต่างประเทศ ปี 2557 ปริมาณ ล้านตัน มูลค่า 543 ล้านบาท สด 120 ลบ. (22%) กระป๋อง 146 ลบ. (27%) สอดไส้ ฯ 277 ลบ. (51%) ผู้รวบรวม (ล้ง) / ผู้ส่งออก โรงงานแปรรูป สถาบัน เกษตรกร ห้างสรรพสินค้า Modern Trade ตลาดสำคัญ เงาะสด (สหรัฐอาหรับ เวียดนาม ซาอุดิอาระเบีย) เงาะกระป๋อง (จีน เมียนมาร์ กัมพูชา) เงาะสอดไส้สับปะรด (อเมริกา มาเลเซีย เมียนมาร์) เกษตรกร 100% (บาท/กก.) 2555 2556 2557 เงาะโรงเรียน 31.92 40.45 34.29 เงาะสีชมพู 19.8 15.14 23.76 ต้นทุน 9.25 9.72 9.46 ตลาดกลาง กทม. (ตลาดไท/ สี่มุมเมือง) พ่อค้ารวบรวม ท้องถิ่น ยุทธศาสตร์ผลไม้ไทย ปี กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาศักยภาพการผลิต เช่น การเพิ่ม ประสิทธิภาพการผลิต การผลิตนอกฤดู การจัดการ หลังเก็บเกี่ยว สร้างความเข้มแข็งของกลุ่มผู้ผลิต สร้างเครือข่ายการผลิตการตลาด พัฒนาฐานข้อมูลผลไม้ กลยุทธ์ที่ 2 พัฒนาตลาดในประเทศ เช่น เพิ่มประสิทธิภาพ ส่งเสริมการกระจายนอกแหล่งผลิต ส่งเสริมการบริโภค เพิ่มประสิทธิภาพการกำกับดูแลการนำเข้าผลไม้ กลยุทธ์ที่ 3 พัฒนาตลาดส่งออก เช่น สนับสนุนการตั้งศูนย์กระจายสินค้าในต่างประเทศ แก้ไขกฎระเบียบ การส่งออก/นำเข้า พัฒนาระบบ Logistics ผู้บริโภคในประเทศ ตลาดขายส่ง ในจังหวัด ตลาดขายปลีก ในจังหวัด อัตราแปลง สด 1.34 กก. = กระป๋อง 1 กก. สด กก. = สอดไส้สับปะรด1 กก.

5 ตัวอย่าง บัญชีสมดุลทุเรียน ปี 2558
รายการ สต็อกต้นปี ผลผลิต รวม บริโภค ส่งออก สต็อกปลายปี ปริมาณ (พันตัน) - 670 256 414 ร้อยละ 100.00 38.21 61.79

6 ตัวอย่าง บัญชีสมดุลทุเรียนปี 2558 รายเดือน
หน่วย : พันตัน รายการ ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. รวม 1.1 ผลผลิต 7 9 21 104 161 103 69 97 58 17 18 8 670 1.2 ความต้องการบริโภค 3 40 62 39 26 37 22 6 256 1.3 ส่งออก 19 16 64 47 67 74 45 13 5 414 1.4 ส่วนเกิน/ส่วนขาด -15 -10 -6 52 -3 -31 15 -2 ข้อมูล ณ วันที่ 11 มี.ค. 58

7 แบบฟอร์มข้อมูลการจัดทำบัญชีสมดุลทุเรียนรายเดือน ปี 2558 จังหวัด ...........
หน่วย : ตัน รายการ ปี 2558 ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. รวม 1. ผลผลิตรวม 2. นำเข้า(ซื้อ)จากจังหวัดอื่น - ผลสด - เข้าโรงงานแปรรูป 3. ส่งไป(ขาย)ยังจังหวัดอื่น 4. ใช้ในจังหวัด 4.1 บริโภคสด 4.2 ส่งออกผลสด 4.3 ความต้องการ โรงงานแปรรูป 5. ส่วนเกิน/ส่วนขาด (1 + 2) – (3 + 4) อัตราแปลง ทุเรียนสด 6 กก. : ทุเรียนกวน 1 กก. ทุเรียนสด 10 กก. : ทุเรียนอบแห้ง 1 กก.

8 โครงสร้างสินค้าสับปะรด
ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ การผลิตปี 2557 เนื้อที่เก็บเกี่ยว ล้านไร่ ผลผลิต ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 3,795 กก. แหล่งผลิตสำคัญ : ประจวบฯ ระยอง ชลบุรี พิษณุโลก เพชรบุรี ช่วง Peak : ช่วงที่ 1 (เม.ย.-มิ.ย.) และ ช่วงที่ 2 (ต.ค.-ธ.ค.) ส่งออกตลาดต่างประเทศ ปี 2557 ปริมาณ ล้านตัน มูลค่า 23,604 ล้านบาท กระป๋อง 16,052 ลบ. (68%) น้ำสับปะรด 4,264 ลบ. (18%) กวน 2,799 ลบ. (12%) อื่นๆ 489 ลบ. (2%) โรงงานแปรรูปสับปะรด / ผู้ส่งออก แปรรูป 79% สด 1% 40% 40% ผู้รวบรวม/ท้องถิ่น / สถาบันเกษตรกร / (แผงสับปะรด) ตลาดกลาง กทม. (ตลาดไท/ สี่มุมเมือง) 50% 10% ตลาดสำคัญ กระป๋อง (อเมริกา เยอรมนี สหรัฐอาหรับ) น้ำสับปะรด (เนเธอร์แลนด์ อเมริกา อิตาลี) กวน (อเมริกา รัสเซีย ญี่ปุ่น) เกษตรกร 100% 10% (บาท/กก.) 2555 2556 2557 ราคาสับปะรดโรงงาน 3.30 4.53 7.15 ราคาสับปะรดบริโภค 6.70 7.42 9.01 ต้นทุน 3.55 3.91 3.87 8% 5% 13% พ่อค้ารวบรวมสับปะรด บริโภคสด ตลาดขายปลีก กทม./ปริมณฑล 5% ยุทธศาสตร์สับปะรดปี พัฒนา 4 ด้าน ได้แก่ การผลิต การแปรรูป การตลาด และการบริหารจัดการ โดยมี 1. คณะกรรมการนโยบายและพัฒนาสับปะรดแห่งชาติ (กำหนดนโยบายการพัฒนาสับปะรดอย่างเป็นระบบ) 2. คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์สับปะรด (กำกับ ดูแล และติดตามการดำเนินแผนงาน โครงการภายใต้ยุทธศาสตร์สับปะรด) ผู้บริโภคในประเทศ 2% 2% ตลาดขายส่ง ในจังหวัด ตลาดขายปลีก ในจังหวัด 15% อัตราแปลง สด 3.33 กก. = สับปะรดกระป๋อง 1 กก. สด 5 กก = สับปะรดแห้ง/กวน 1 กก. สด 4 กก = น้ำสับปะรด 1 กก. สด 1 กก = สับปะรดแช่เย็นจนแข็ง 1 กก.

9 ตัวอย่าง บัญชีสมดุลสับปะรด ปี 2558
ตัวอย่าง บัญชีสมดุลสับปะรด ปี 2558 สินค้า สต็อกต้นปี ผลผลิต รวม บริโภค ส่งออก สต็อกปลายปี ปริมาณ (พันตัน) 1,970 200 1,770 ร้อยละ 100.00 10.15 89.85

10 ตัวอย่าง บัญชีสมดุลสับปะรด ปี 2558 รายเดือน
หน่วย : พันตัน รายการ ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. รวม 1.1 stock ต้นเดือน 1.2 ผลผลิต 177 174 183 221 244 187 107 47 80 172 190 1,970 1.3 ความต้องการบริโภค 17 200 1.4 ส่งออก 160 158 166 204 227 170 90 30 63 155 173 1,770 1.5 ส่วนเกิน/ส่วนขาด ข้อมูล ณ วันที่ 11 มี.ค. 58

11 แบบฟอร์มข้อมูลการจัดทำบัญชีสมดุลสับปะรดรายเดือน ปี 2558 จังหวัด ...........
หน่วย : ตัน รายการ ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. รวม 1. สต็อกยกมา (ผลิตภัณฑ์) 2. ผลผลิตรวม 3. นำเข้า(ซื้อ)จากจังหวัดอื่น - ผลสด - เข้าโรงงานแปรรูป 4. ส่งไป(ขาย)ยังจังหวัดอื่น 5. ใช้ในจังหวัด 5.1 บริโภคสด 5.2 ส่งออกผลสด 5.3 ความต้องการโรงงาน แปรรูป 6. สต็อกยกไป (ผลิตภัณฑ์) 7. ส่วนเกิน/ส่วนขาด ( ) – ( ) อัตราแปลง สับปะรดสด 5 กก. : สับปะรดกวน 1 กก. สับปะรดสด 5 กก. : สับปะรดแห้ง 1 กก. สับปะรดสด 3.33 กก. : สับปะรดกระป๋อง 1 กก.

12 ตัวอย่าง การคำนวณบัญชีสมดุลรายจังหวัด
ผู้รวบรวม (ล้ง) / ผู้ส่งออก(65+10 =75) ส่งออก (= 65) ซื้อจาก จังหวัดอื่นๆ 10 65 65 ขายไปจังหวัดอื่นๆ (5+15 = 20) 10 5 เกษตรกร 100 โรงงานแปรรูป ( =25) 5 20 30 ใช้ภายในจังหวัด (20+25 = 45) 15 5 5 พ่อค้ารวบรวมท้องถิ่น (30+15 =45) ซื้อจาก จังหวัดอื่นๆ 15 25 1.ซื้อจาก จว. อื่น = = 30 2.ส่งออก+ ขายไป จว. อื่น = 85 3.ใช้ภายใน จว. = = 45 4. Stocks = 0 ผลผลิต + นำเข้า = ใช้ในจังหวัด + ส่งออก

13 ตัวอย่าง การคำนวณบัญชีสมดุลรายจังหวัด
มกราคม 2558 ซื้อ ขาย รายการ เกษตรกร ล้ง/ ผู้ส่งออก รง. แปรรูป พ่อค้ารวบรวม นอก จว. ตลาดใน จว. 65 5 30 ล้ง 10 20 15 25 รวม 100 45 85 รายการ ม.ค. สต็อกต้น ผลผลิต 100 ซื้อจาก จว. อื่น 30 ใช้ในจังหวัด 45 ขายไป จว. อื่น 85 สต็อกปลาย

14 ขอบคุณ


ดาวน์โหลด ppt แนวทางการจัดทำบัญชีสมดุลผลไม้

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google