งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ตอนที่ 4.3 กรณีศึกษา : การสร้างเสริมประสิทธิภาพ งานส่งเสริมการเกษตร สำนักงานอำเภอน้ำปาด จังหวัดอุตรดิตถ์ ตอนที่ 4.3.1 กรณีศึกษา : การจัดการความรู้

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ตอนที่ 4.3 กรณีศึกษา : การสร้างเสริมประสิทธิภาพ งานส่งเสริมการเกษตร สำนักงานอำเภอน้ำปาด จังหวัดอุตรดิตถ์ ตอนที่ 4.3.1 กรณีศึกษา : การจัดการความรู้"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ตอนที่ 4.3 กรณีศึกษา : การสร้างเสริมประสิทธิภาพ งานส่งเสริมการเกษตร สำนักงานอำเภอน้ำปาด จังหวัดอุตรดิตถ์ ตอนที่ กรณีศึกษา : การจัดการความรู้ สำนักงานอำเภอน้ำปาด จังหวัดอุตรดิตถ์ โดยนายอดุลย์ศักดิ์ ไชยราช เกษตรอำเภอน้ำปาด จังหวัดอุตรดิตถ์

2 นายอดุลย์ศักดิ์ ไชยราช เกษตรอำเภอน้ำปาด จังหวัดอุตรดิตถ์
เรื่องที่ กรณีตัวอย่าง : การจัดการความรู้ สำนักงานเกษตรอำเภอน้ำปาด จังหวัดอุตรดิตถ์ นายอดุลย์ศักดิ์ ไชยราช เกษตรอำเภอน้ำปาด จังหวัดอุตรดิตถ์ เริ่มรับราชการ เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม 2523 ตำแหน่งเจ้าหน้าที่ การเกษตร 1 สำนักงานเกษตรจังหวัดอุตรดิตถ์  ตำแหน่งปัจจุบัน เกษตรอำเภอน้ำปาด จังหวัดอุตรดิตถ์ ประวัติการศึกษา ปริญญาตรี ส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) วิทยาลัยเกษตรน่าน ความภาคภูมิใจ 1. ผลงานการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์งานส่งเสริมการเกษตร 2. ผลงานการจัดการความรู้องค์กร (KM) 3. ผลงานการบูรณาการงานส่งเสริมการเกษตร

3 ความเป็นมา/ สถานการณ์ สำนักงานเกษตรอำเภอน้ำปาด
ตั้งชุมชนเมื่อ พ.ศ สมเด็จพระเจ้าตากสิน โดยมีพญาปาดเป็นผู้สร้างบ้านแปลงเมือง พ.ศ ยกฐานะเป็นอำเภอ การปกครอง 7 ตำบล 1 เทศบาล

4 สำนักงานเกษตรอำเภอน้ำปาด
รับผิดชอบ มีบุคลากร 9 คน พื้นที่การเกษตร 234,130 ไร่ พืชเศรษฐกิจที่สำคัญ ข้าวโพด มันสำปะหลัง สับปะรดห้วยมุ่น หอมแดง กระเทียม

5 3. การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
ความเข้าใจ (Understanding) ทักษะ (Skill) ทัศนคติ (Attitude)

6 ผลการจัดการความรู้ ประกอบด้วย 3 ด้าน ด้านพืช เช่น
ด้านการบริหารงานกลุ่ม/ สถาบันเกษตรกร ด้านพืช เช่น สับปะรดห้วยมุ่น กระเทียมน้ำปาด ด้านการบริหารจัดการฟาร์มและเศรษฐกิจพอเพียง

7 4. กระบวนการจัดการความรู้และการถ่ายทอดเทคโนโลยีตามหลักการ KUSA
K :Knowledge เกษตรอำเภอ สอนงาน (Coaching) หลักการจัดการความรู้ U: understand เกษตรอำเภอ ทำความเข้ารูปแบบจัดการความรู้ S: Skill เกษตรอำเภอ ทำการฝึกงาน/ สอนงานเพิ่มทักษะ A: Attitude เกษตรอำเภอปรับทัศนคติ แนวคิด ทัศนคติเชิงบวก

8 ผลการจัดการความรู้ตามหลัก KUSA
สำนักงานเกษตรอำเภอน้ำปาด กำหนดเป้าหมายการจัดการความรู้ (Knowledge Vision) พืช 2 ชนิด คือ สับปะรดห้วยมุ่น GI และกระเทียมน้ำปาดแห่งเดียวในโลก 1. สับปะรดห้วยมุ่น GI กรมทรัพย์สินทางปัญญา ขึ้นทะเบียนสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI: Geographical Indication) ทะเบียน เมื่อ วันที่ 15 มิถุนายน 2555 คุณลักษณะเฉพาะ คือชิมด้วยลิ้นอธิบายด้วยปาก ลักษณะผล ทรงกลม น้ำหนัก kg/ผล เปลือกบาง ตาตื้น ผลดิบสีเขียวคล้ำ ผลแก่อมส้ม เนื้อหนานิ่ม รสหวาน ฉ่ำ น้ำ หอม ไม่กัดลิ้น ผลผลิตตามฤดูกาล ช่วงที่ 1 เดือน พ.ย. – ม.ค. - ช่วงที่ 2 เดือน ส.ค. – ต.ค. ผลผลิตเฉลี่ย 5,000kg/ไร่ รับประทานสด / แปรรูป กำไรเฉลี่ย 5,000kg/ไร่ มูลค่ารวม 650 ล้านบาท/ฤดูกาล

9 การปลูก มี 2 รูปแบบ 2 พื้นที่ 2. แบบธรรมชาติ “กระเทียมนา”
2) กระเทียมน้ำปาดหนึ่งเดียวในโลก มีความเผ็ด กลิ่นฉุนมาก ค่ากำมะถัน 1.31% (กรมวิชาการเกษตร) คุณลักษณะพิเศษ เก็บไว้ได้นาน ( เดือน ) การปลูก มี 2 รูปแบบ 2 พื้นที่ 1. แบบ GAP “กระเทียมสวน” 2. แบบธรรมชาติ “กระเทียมนา” ฤดูปลูก ฤดูปลูก หลังการเก็บเกี่ยวข้าว ปลูกเดือน พ.ย. เก็บเกี่ยว ก.พ. วิธีการปลูก ปลูกเดือน ก.พ. เก็บเกี่ยว เม.ย. - แบบธรรมชาติ ไม่ไถพรรณดิน - ตัดถางตอซังข้าว ยกร่องระบายน้ำ - ปรับผิวแปลง ผสมปุ๋ยคอกปุ๋ยหมัก ให้น้ำ - ปลูกกระเทียม คลุมด้วยฟางข้าว วิธีการปลูก ใกล้แหล่งน้ำ ให้ผลผลิตสูง หัวใหญ่ น้ำหนักดี อายุเก็บเกี่ยว วัน ราคาเฉลี่ย 35 – 150 บาท/ก.ก. อายุเก็บเกี่ยว วัน ราคาเฉลี่ย 50 – 80 บาท/ก.ก. สถานที่ปลูก บ้านใหม่ หมู่ 2 ต.บ้านฝาย สถานที่ปลูก บ้านชำบุ่น หมู่ 7 ต.บ้านฝาย


ดาวน์โหลด ppt ตอนที่ 4.3 กรณีศึกษา : การสร้างเสริมประสิทธิภาพ งานส่งเสริมการเกษตร สำนักงานอำเภอน้ำปาด จังหวัดอุตรดิตถ์ ตอนที่ 4.3.1 กรณีศึกษา : การจัดการความรู้

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google