งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ความเป็นมาการประกันภัยพืชผลในประเทศไทย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ความเป็นมาการประกันภัยพืชผลในประเทศไทย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ความเป็นมาการประกันภัยพืชผลในประเทศไทย
ปี กรมการประกันภัยเริ่มศึกษารูปแบบประกันภัย ทางการเกษตร ในประเทศไทย ปี ทดลองทำโครงการประกันภัยฝ้าย ที่อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา 2 ปีแรกได้กำไร 1.83 แสนบาท ปีที่ 3 ขาดทุน 1.23 แสนบาท มีเกษตรกรร่วมโครงการ ปีที่ 1 เกษตรกร 496 ราย ปีที่ 2 เกษตรกร 542 ราย ปีที่ 3 เกษตรกร 83 ราย เบี้ยประกัน 50บาท/ไร่ คุ้มครอง 1,400 บาท/ไร่

2 ปี 2525-27 กรมส่งเสริมการเกษตรได้ดำเนินการต่อ
ผล 3 ปี ขาดทุน 1.04 ล้านบาท ปี มีการแต่งตั้งคณะกรรมการเพื่อดำเนินงานโครงการต่อโดยมอบให้กรมส่งเสริมการเกษตร เป็นเจ้าภาพหลัก เพื่อทำเรื่องเสนอคณะรัฐมนตรี ในการประกันภัยฝ้าย และถั่วเหลือง แต่มีการยุบสภาก่อนเลยล้มเลิกไป

3 ปี 2531-34 มีบริษัทเอกชนริเริ่มทำประกันภัย ข้าวโพด
ข้างฟ่าง และถั่วเหลืองแบบครบวงจร ร่วมกัน 3 บริษัท โดยคิดเบี้ยประกันภัย ร้อยละ 8 ของทุนประกัน ผลการดำเนินงาน 4 ปี จ่ายค่าสินไหมทดแทน 4.91 ล้านบาท รับเบี้ยประกัน 1.45 ล้านบาท มีผู้ทำประกันปีที่ 1 จำนวน 90 ราย ปีที่ 2 จำนวน 552 ราย ปีที่ 3 ไม่มีข้อมูล ปีที่ 4 จำนวน 228 ราย

4 ปี 2539 คณะรัฐมนตรีได้อนุมัติให้ธนาคารเพื่อการเกษตร
และสหกรณ์การเกษตร (ธกส.) ทำประกันภัยพืชผลการเกษตร ในรูปกองทุนรวมบรรเทาความเสียหาย โดยทำ -ในทุกพื้นที่ประเทศไทย - คุ้มครองเฉพาะข้าวนาปี ข้าวนาปรัง และข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ - คุ้มครองเฉพาะอุทกภัย วาตภัย และภัยแล้ง - กำหนดให้รัฐบาลและเกษตรกรจ่ายค่าเบี้ยประกันคนละครึ่ง แต่สำนักงบประมาณ ไม่อนุมัติเงินจึงไม่ได้ดำเนินการ

5 ปี 2544 ธกส. ยื่นข้อเสนอจัดตั้งกองทุนประกันภัย
ทางการเกษตรต่อคณะรัฐมนตรีผ่านทางกระทรวง เกษตรและสหกรณ์ โดย - รับประกันภัยจากอุทกภัย วาตภัย และภัยแล้ง - คุ้มครองพืช 3 ชนิด คือ ข้าวนาปี ข้าวนาปรัง และ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ - ดำเนินการทั่วประเทศโดยแบ่งการประกันภัยเป็น 2 ระดับ

6 ปี 2546 คณะกรรมการกลั่นกรองเรื่องเสนอคณะรัฐมนตรี (ฝ่ายเศรษฐกิจ) มีมติเมื่อ
วันที่ 28 สิงหาคม 2546 มอบให้กระทรวงเกษตร และสหกรณ์ รับเรื่องการประกันภัยทางการเกษตร ไปดำเนินการ แล้วนำเสนอคณะกรรมการกลั่นกรองอีกครั้ง ปี ธกส. จัดทำโครงการนำร่องโครงการประกันภัยพืชผลโดยใช้ดัชนีภูมิอากาศ (Weather Index Insurance)

7 - หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย ธนาคารโลก
ธนาคารโลกได้ให้ความช่วยเหลือจัดทำโครงการประกันภัยพืชผลโดยใช้ดัชนีภูมิอากาศ ให้ ธกส. เป็นแกนกลางในการประสานงาน เพื่อทดลองรูปแบบการประกันภัยจากภาวะ ฝนแล้งและน้ำท่วม - หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย ธนาคารโลก บริษัท PASCO กรมการประกันภัย สมาคมประกันวินาศภัย บริษัทประกันวินาศภัย กรมอุตุนิยมวิทยา กรมชลประทาน และ ธกส. - เกษตรกรจ่ายค่าเบี้ยประกันภัยร้อยละ 7-10 ของวงเงินคุ้มครอง

8 ดำเนินการทดลองการประกันภัย ข้าวนาปีจากอุทกภัย
ที่อำเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ์ และทดลองประกันภัย ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์จากภัยแล้ง ที่อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา โดยยึดลูกค้า ธกส. สาขาในพื้นที่โครงการและอยู่ในรัศมีวัดน้ำฝนที่กำหนด - ระยะเวลาทดลองดำเนินการ 3 ปี (ปี )


ดาวน์โหลด ppt ความเป็นมาการประกันภัยพืชผลในประเทศไทย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google