บทที่ 9 แอนิเมชั่น Animation อ.ชนิดา เรืองศิริวัฒนกุล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การใส่ลูกเล่นให้กับงานนำเสนอ
Advertisements

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับงานกราฟิก
อาจารย์เอกนฤน บางท่าไม้ ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา
องค์ประกอบของสำนักงานสมัยใหม่
ประโยชน์ของ เครื่องโปรเจคเตอร์
กลุ่ม L.O.Y..
การเขียน STORYBOARD STORYBOARD.
บทที่ 1 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
หลักการจัดทำสตอรี่บอร์ดสื่อมัลติมีเดีย
องค์ประกอบของมัลติมีเดีย
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสื่อประสม
องค์ประกอบ และ ประโยชน์ของมัลติมีเดีย
มัลติมีเดีย (Multimedia)
โดยการใช้ Layer และ Timeline
องค์ประกอบ Graphic.
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
Chapter 4 : Animation (ภาพเคลื่อนไหว)
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การสร้างงานกราฟิก.
รูปแบบของเว็บเพจ. รูปแบบของเว็บเพจ รูปแบบของเว็บเพจ 1. เว็บเพจในแนวตั้ง.
Multimedia และระบบความจริงเสมือน Virtual Reality, VR
1.2 สื่อและหลักการนำเสนอข้อมูล
3D modeling การสร้างแบบจำลอง 3 มิติ
บทที่ 5 การแทรกรูปภาพ และอักษรประดิษฐ์
ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ในการวิเคราะห์โครงสร้าง
ปฏิบัติการประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
การจัดแสงสำหรับงานโทรทัศน์
การพัฒนาเว็บด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
โปรแกรมกราฟิก illustrator cs3
ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
ความหมาย ปัญญาประดิษฐ์
บทที่ 3 การวิเคราะห์โครงสร้าง Structure Analysis
โครงสร้างการจัดเก็บข้อมูลเชิงกายภาพ
โปรแกรม SwishMAX.
Adobe Captivate 4 Installation
เรื่องข้อมูลและสาระสนเทศ
วิวัฒนาการประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์กราฟิกส์
มัลติมีเดีย ประกอบประมวลสาระ
Principle of Graphic Design
การเลือกและปรับรูปทรงวัตถุ การเลือกและปรับรูปทรงวัตถุ
รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene
Sukunya munjit..detudom.  เครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีหน่วยประมวลผล กลางระดับ Intel Pentium 800 MHz หรือ สูงกว่า  ระบบปฏิบัติการ Windows 2000 หรือสูง กว่า.
การนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาสนับสนุนการทำงาน
Background / Story Board / Character
Animation (ภาพเคลื่อนไหว)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการสร้างภาพเคลื่อนไหว
ประเภทของแอนิเมชั่นใน Flash
บทที่ 2 เริ่มต้นใช้งาน Flash
บทที่ 8 การสร้างวัตถุเคลื่อนไหวโดย Bone Tool
อาจารย์สถิตย์ กังวานณรงค์กุล มัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนมัธยมวัดนายโรง
การจัดองค์ประกอบของภาพ
การสร้างภาพเคลื่อนไหวด้วย
รายวิชา คอมพิวเตอร์กราฟิก
นางสาวเบญจมาศ รัตน์พิทักษ์
ความหมายของแอนิเมชัน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การนำเสนองาน.
ครู สุนิสา เมืองมาน้อย
BSRU Animation STUDIOS
3D MAX ซอฟท์แวร์ที่สนใจ น.ส.กมลชนก ดาวแดน เลขประจำตัวนิสิต
บทที่8 การเขียน Storyboard.
นางสาวสุภัทรา สุขวัฒนา วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์
โดยใช้โปรแกรม Macromedia flash 8
ความแตกต่างระหว่างบุคคล
เทคนิคการเปลี่ยนภาพ โดยใช้อุปกรณ์ตัดต่อ วีดีทัศน์.
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
โรงเรียนขัติยะวงษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 27
บทที่ 7 การสร้างและการใช้งาน ฟังก์ชัน อาจารย์ชนิดา คำเพ็ง สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
โลกเสมือนจริง วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต
Macromedia flash 8.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 9 แอนิเมชั่น Animation อ.ชนิดา เรืองศิริวัฒนกุล อ.ชนิดา เรืองศิริวัฒนกุล สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์

ทำความรู้จักกับแอนิเมชั่น แอนิเมชั่น (Animation) หมายถึง “การสร้างภาพเคลื่อนไหว” ด้วยการเรียงลำดับกัน และแสดงผลอย่างต่อเนื่อง ทำให้ดวงตาเห็นเป็นภาพที่มีการเคลื่อนไหวในลักษณะภาพติดตา (Persistence of Vision)

ความเป็นมาของแอนิเมชั่น John Marey และ Edward Muybridge ได้พัฒนาอุปกรณ์สำหรับบันทึกภาพเคลื่อนไหวของวัตถุ และนำมาใช้เพื่อบันทึกการเคลื่อนไหวของม้า ต่อมา Thomas Edison ได้ประดิษฐ์กล้องถ่ายภาพ ที่เรียกว่า “Kinetograph” เป็นกล้องที่สามารถถ่ายภาพได้ถึง 10 ภาพต่อวินาที

Keyframe และ Tweening การสร้างแอนิเมชันในยุคเริ่มต้น ผู้สร้างจะวาดภาพสำคัญลงบนเฟรมเรียกว่า คีย์เฟรม (Keyframe) และกระบวนการวาดเฟรมที่อยู่ระหว่างคีย์เฟรมนี้ว่า ทวีนนิ่ง (Tweening) โปรแกรม Adobe Flash นำหลักการนี้ไปใช้ในการสร้างแอนิเมชั่น โดยแอนิเมชั่นจะกำหนดคีย์เฟรมเริ่มต้นและคีย์เฟรมสุดท้าย จากนั้นปล่อยให้โปรแกรมสร้างการเคลื่อนไหวให้กับออบเจ็กต์ที่อยู่ระหว่างคีย์เฟรมทั้งสอง โดยอัตโนมัติ

การนำคอมพิวเตอร์มาใช้กับงานแอนิเมชั่น โปรแกรม Adobe Flash สามารถแบ่งการเคลื่อนไหวได้ดังนี้ - Frame by Frame เป็นการนำภาพมาใส่ไว้ในแต่ละเฟรมแล้วทำการกำหนดคีย์เฟรม หรือเฟรมที่ถูกกำหนดให้มีการเปลี่ยนแปลงของวัตถุเพื่อสร้างการเคลื่อนไหว - Tween Animation การกำหนดคีย์เฟรมเริ่มต้นและคีย์เฟรมสุดท้าย จากนั้นปล่อยให้โปรแกรมสร้างความเปลี่ยนแปลงระหว่างเฟรมโดยอัตโนมัติ แบ่งเป็น 2 แบบคือ - Motion Tween - Shape Tween

การนำคอมพิวเตอร์มาใช้กับงานแอนิเมชั่น 1. Motion Tween หรือ Motion Path เป็นการสร้างการเคลื่อนไหวที่กำหนดการเคลื่อนที่ หมุน ย่อ หรือขยายวัตถุไปตามเส้นที่วาดไว้ โดยที่รูปทรงของวัตถุไม่มีการเปลี่ยนแปลง โดยเป็นรูปแบบการสร้างภาพเคลื่อนไหวที่นิยมมากที่สุด 2. Shape Tween เป็นการสร้างภาพเคลื่อนไหวที่มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างของวัตถุ จากรูปทรงหนึ่งไปเป็นอีกรูปทรงหนึ่ง โดยสามารถกำหนดตำแหน่ง ขนาด และทิศทาง และสีของวัตถุในแต่ละช่วงเวลาได้ตามต้องการ

วิธีการสร้างแอนิเมชั่น - Action Script เป็นภาษาที่นำมาใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานของระบบและสามารถโต้ตอบกับผู้ใช้งานได้ โดย Action Script จะถูกนำมาใช้เมื่อมีการกระทำเกิดขึ้น ซึ่งเรียกว่า เหตุการณ์ (Event)

เทคนิคในการสร้างแอนิเมชั่น - Cel Animation เป็นการใช้แผ่นใส (Celluloid) สำหรับ วาดภาพในแต่ละเฟรม ซึ่งในปัจจุบัน เปลี่ยนมาเป็นแผ่นพลาสติก (Acetate) แทนแล้ว - Computer Animation ใช้หลักการเช่นเดียวกับ Cel Animation โดยสร้างภาพให้เป็นเฟรมที่มีลักษณะแตกต่างกัน จากนั้นจึงกำหนดคีย์เฟรมโดยใช้เทคนิค Tween ซึ่งความสามารถในการแสดงผลก็ขึ้นอยู่กับประสิทธิภาพของคอมพิวเตอร์

เทคนิคในการสร้างแอนิเมชั่น นอกจากนี้ยังสามารถใช้คอมพิวเตอร์จำลองส่วนต่างๆ ของร่างกาย สำหรับช่วยในการศึกษาลักษณะการเคลื่อนไหวของอวัยวะต่างๆ ดังนี้ - Kinematic เน้นการเรียนรู้ลักษณะ กิริยาท่าทาง และการเคลื่อนไหวของโครงสร้าง ส่วนที่มีการเชื่อมต่อกัน เช่นท่าทาง การเดินของมนุษย์

เทคนิคในการสร้างแอนิเมชั่น - Morphing เป็นเทคนิคพิเศษที่ใช้ในการเปลี่ยนแปลงภาพให้กลายเป็นวัตถุชนิดอื่น ที่แตกต่างกันออกไป

แอนิเมชั่น 2 มิติและ 3 มิติ แอนิเมชั่นที่ที่รู้จักกันดีในอดีตจะมีลักษณะ 2 มิติ เช่นภาพยนตร์การ์ตูนต่างๆ ส่วนในปัจจุบันสามารถสร้างแอนิเมชั่น 2 มิติได้โดยใช้โปรแกรม Adobe Flash นอกจากแอนิเมชั่น 2 มิติแล้ว การสร้างแอนิเมชั่น 3 มิติก็เป็นเรื่องที่น่าสนใจอย่างมาก เช่นการทำให้สัญลักษณ์ต่างๆ เคลื่อนไหว หรือการสร้างสื่อโฆษณา มิวสิควิดีโอ ภาพยนตร์ ในปัจจุบันมีการสร้างแอนิเมชั่น 3 มิติให้มีความใกล้เคียงธรรมชาติมากที่สุด เพื่อใช้ในการสร้างสภาวะที่เหมือนจริงที่เรียกว่า VR (Virtual Reality)

รูปแบบของไฟล์แอนิเมชั่น .MNG สามารถใช้งานกับเบราเซอร์ต่างๆได้หลากหลาย .MAX เป็นไฟล์สร้างจากโปรแกรม 3D Studio Max ได้รับความนิยมมาก เหมาะสำหรับทำงานบน Windows สามารถแก้ไขคุณสมบัติต่างๆ ของอ็อบเจกต์ได้ .FLC/FLI เป็นไฟล์ที่สร้างจากโปรแกรม Autodesk , Animator Studio, 3D แสดงผลได้ 256 สี .ANI เป็นไฟล์ภาพที่ใช้กับงาน Animated Cursor บนแพล็ตฟอร์มของ Windows ซึ่งจะเก็บองค์ประกอบต่างๆ แบบแยกเฟรม .SWF เป็นไฟล์ที่ถูกสร้างจากโปรแกรม Adobe Flash สามารถเล่นไฟล์ได้ ด้วย Flash player นิยมไปใช้กับงานเว็บไซต์เพราะมีขนาดเล็ก .GIF ไฟล์มีขนาดเล็ก ประหยัดพื้นที่ เหมาะสำหรับงานบนเว็บไซต์

ซอฟต์แวร์สำหรับงานแอนิเมชั่น - Macromedia Flash - Gif Animator - Swish - Moho - TrueSpace - Xara X - Etc.

อาชีพที่เกี่ยวข้องกับงานแอนิเมชั่น - งานภาพยนตร์และโทรทัศน์ - งานพัฒนาเกม - งานสถาปัตยกรรมและการก่อสร้าง - งานด้านวิทยาศาสตร์ - งานพัฒนาเว็บไซต์