หลักการประกอบธุรกิจสมัยใหม่
ความหมาย : การผลิตหรือซื้อขายสินค้า หรือบริการโดยหวังผลกำไร และรับผิดชอบต่อความเสี่ยง ความรับผิดชอบจ่อสังคมและมีจริยธรรม
ประเภทของธุรกิจ ธุรกิจการผลิต ธุรกิจบริหาร ธุรกิจการค้า
รูปแบบของการประกอบธุรกิจ 1. กิจการเจ้าของคนเดียว 2. ห้างหุ้นส่วน ห้างหุ้นส่วนสามัญ ห้างหุ้นส่วนจำกัด 3. บริษัท จำกัด บริษัทเอกชน จำกัด บริษัทมหาชน
จดทะเบียนทางธุรกิจ กระทรวงพาณิชย์ http://dbd.go.th/
ธุรกิจขนาดย่อม หมายถึง ธุรกิจที่ดำเนินงานโดยคนงานน้อยกว่า 500 คน และมีทุนจดทะเบียนต่ำกว่า 200 ล้านบาท
ประเภทของธุรกิจขนาดย่อม ธุรกิจการผลิต การเกษตร อาหาร โรงงาน หัตถกรรม ธุรกิจชุมชน OTOP
2. ธุรกิจการค้าส่ง 3. ธุรกิจการค้าปลีก ร้านค้าโชว์ห่วย ร้านค้าสะดวกซื้อ Minimart / Ministore E – Commerce / E- Business
4. ธุรกิจบริการ ธุรกิจการเงิน ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ 4. ธุรกิจบริการ ธุรกิจการเงิน ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ธุรกิจทางการแพทย์ / คลินิก ธุรกิจเกี่ยวกับการขนส่ง ธุรกิจเกี่ยวกับการบันเทิง ธุรกิจเกี่ยวกับการศึกษา ธุรกิจเกี่ยวกับกีฬา ธุรกิจเกี่ยวกับการประกันภัย
ความเสี่ยงในการประกอบธุรกิจ 1. ความหมาย : ความไม่แน่นอนของ การเกิดปรากฎการณ์ที่ทำให้ธุรกิจเกิด ความสูญเสีย
ประเภทของความเสี่ยง 1. ความเสี่ยงที่แท้จริง เกิดแก่บุคคล เกิดแก่ทรัพย์สิน เกิดแก่ความรับผิดชอบ 2. ความเสี่ยงจากการคาดการณ์ การจัดการ การเมือง นวัตกรรม
3. ความเสี่ยงพื้นฐาน สภาวะทางเศรษฐกิจ สภาวะทางการเงิน ภัยธรรมชาติ ภัยจากการสงคราม ภัยจากการก่อการร้าย
4. ความเสี่ยงจำเพาะ - ไฟไหม้ - อุบัติเหตุ 4. ความเสี่ยงจำเพาะ - ไฟไหม้ - อุบัติเหตุ 5. ความเสี่ยงที่เปลี่ยนแปลงได้ การเปลี่ยนแปลงสถานการณ์ทางการค้าของโลก การเปลี่ยนแปลงรสนิยมของผู้บริโภค
6. ความเสี่ยงคงที่ - ภัยธรรมชาติที่เกิดขึ้นแน่นอน - รสนิยมของลูกค้า 6. ความเสี่ยงคงที่ - ภัยธรรมชาติที่เกิดขึ้นแน่นอน - รสนิยมของลูกค้า 7. ความเสี่ยงที่เอาประกันได้ มีลักษณะสำคัญ อุบัติเหตุ คำนวณได้ ความสูญเสียที่แท้จริงระบุในสัญญาประกันภัย ไม่สูญเสียมากเกินไป
8. ความเสี่ยงที่เอาประกันภัยไม่ได้ 8. ความเสี่ยงที่เอาประกันภัยไม่ได้ ขาดสถิติ ภัยต่อสาธารณะ จากผลประโยชน์ มีความเสี่ยงมากเกินไป
ความรับผิดชอบต่อสังคม 1. ความหมาย : การบริหารจัดการที่มีการปกป้องและปรับปรุงสวัสดิการสังคมโดยรวมและขององค์กร
2. ตัวแบบความรับผิดชอบต่อสังคมของธุรกิจเอกชนของ Davis ความรับผิดชอบต่อสังคม เกิดจากการกระทำของธุรกิจ ธุรกิจจะดำเนินการเป็นระบบเปิด 2 ทาง ความรับผิดชอบต่อสังคม มีค่าใช้จ่าย ธุรกิจและผู้บริโภครับผิดชอบค่าใช้จ่ายทางสังคมร่วมกัน ธุรกิจร่วมในการแก้ปัญหาสังคม
จริยธรรมทางธุรกิจ 1. ความหมาย : การจัดการผลประโยชน์ให้เป็นธรรมแก่ผู้ได้รับประโยชน์ทุกฝ่าย 2. ประโยชน์ของจริยธรรมทางธุรกิจ : เพิ่มผลผลิต / ผลิตภาพ ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ได้รับประโยชน์ดีขึ้น เป็นไปตามระเบียบราชการ
3. จริยธรรมทางธุรกิจ ข้อความที่กำหนดขึ้นอย่างเป็นทางการ เพื่อเป็นแนวในการปฏิบัติที่มีการรับผิดชอบต่อสังคม และจริยธรรม