ความพึงพอใจต่อการมาใช้บริการห้องสมุด

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัชราภรณ์ ปันแก้ว นันทา เติมสมบัติถาวร มินตรา ไชยชนะ
Advertisements

ของวิชา การรู้สารสนเทศInformation Literacy
ตัวชี้วัดโครงการ บรรณารักษ์พบนักวิจัย
แนะนำบริการสนับสนุนการวิจัย (Researcher Service Support)
บริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้า มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
เครือข่ายสารสนเทศห้องสมุดใน
คนึงนิตย์ หีบแก้ว ธันยกานต์ สินปรุ พุทธชาติ เรืองศิริ
นางพัชราภรณ์ หงษ์สิบสอง และผู้ช่วยศาสตราจารย์นันทา เติมสมบัติถาวร
ศึกษาความพึงพอใจของผู้บริหารและครูต่อสภาพแวดล้อมของสถานศึกษา อำเภอสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา โดย เสมา แสนยากร.
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปริศนา มัชฌิมา
สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะผู้บริหารจากมหาวิทยาลัยนครพนม
สืบค้นงานวิจัยชิ้นที่ 2
การศึกษาความพึงพอใจของ
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับค่าโดยสารรถเมล์ ขสมก.
Virtual Library ห้องสมุดเสมือน.
สื่อการสอน : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบงานห้องสมุด (2)
บัณฑิตศึกษาสาขาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์
ความพึงพอใจของผู้เรียนต่อคุณภาพการสอนของครู แผนกสามัญ หมวดพลานามัย ปีการศึกษา 2550 วิธีการวิจัยวัตถุประสงค์ ผลการศึกษา พบว่า โดยรวมนักเรียนมี ความพึงพอใจต่อคุณภาพ.
Eng ศึกษาความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการขันติ โสรัจจะ รุ่นที่ 1 ปีการศึกษา วัตถุประสงค์การวิจัย ระเบียบวิธีวิจัย ผลการวิจัย ผู้วิจัยต้องการศึกษา.
ความพึงพอใจของผู้เรียนต่อคุณภาพการสอนของครู
ใบความรู้ เรื่อง สื่อสารสนเทศในแบบต่างๆ
การบริหารสำนักงาน ด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
จำนวนห้องสมุดประชาชนมีการ พัฒนาการให้บริการด้วยระบบ ICT เสร็จตามแผนที่กำหนด และเป็นที่ พึงพอใจของผู้ใช้บริการ.
ความพึงพอใจของผู้ประกอบการและ หัวหน้าหน่วยงานรัฐบาลต่อผู้สำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนอุตรดิตถ์เทคโนโลยี นางรัตดา บัวใจ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ผลงานวิจัยประเภทพัฒนาสถาบัน
วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
นายวิชชุกร บัวคำซาว วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่
ผู้วิจัย นางสาวจันทรา แซ่หลิม สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
ชื่อเรื่อง แรงจูงใจของนักศึกษาในการเลือกเรียนหลักสูตรปริญญาตรีสาขาบริหารธุรกิจบัณฑิต ผู้วิจัย นางสาวณัฐกานต์ ภูแฝก.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
พฤติกรรม : กรณีห่างไกลสิ่งเสพติดของนักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2556 นางพัษนีย์ อิมะนันทน์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
ความพึงพอใจของผู้เรียนต่อคุณภาพการสอนของครู แผนกช่างยนต์ ปีการศึกษา 2550 วิธีการวิจัยวัตถุประสงค์ ผลการศึกษา พบว่า โดยรวมนักเรียนมี ความพึงพอใจต่อคุณภาพ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
วิจัยประเภทการเรียนการสอน
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
นางสาวกุลวีณ์ สัตตรัตนามัย โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ผลงานวิจัยประเภทพัฒนาสถาบัน
ผลงานวิจัย โดย อ.เอกพงษ์ วรผล.
วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
การจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร เพื่อพัฒนาความพร้อมในวิชาชีพ
วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
อาจารย์แผนกช่างก่อสร้าง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
ชื่อเรื่อง ผู้วิจัย นางศิริพร ไตรเนตร
เรื่อง การมีส่วนร่วมในการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
นางมลิวรรณ สมบุญโสด ผู้วิจัย
การศึกษาการบริหารงานวิชาการของ วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชยการ
โดย นายสุรชัย ไตรบรรณ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาระบบจัดการพลังงานใน อุตสาหกรรม ระดับชั้น ปวส.2/1 หมวดวิชาช่าง ยนต์ โดยใช้กิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อน โดย นายสุรชัย ไตรบรรณ์
การนำเสนอผลงานวิจัย ชื่อเรื่อง : สมรรถนะที่เป็นจริงของผู้สำเร็จการศึกษาระดับ ปวส. แผนก การบัญชี ตามความคิดเห็นของหัวหน้าแผนกบัญชี ในเขตพื้นที่
3 rd largest economy world’s วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ is the การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชา คอมพิวเตอร์และ ระบบปฏิบัติการเบื้องตัน ของนักศึกษาระดับ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์โดยใช้ชุดการสอน ในรายวิชาสุนทรียศาสตร์เบื้องต้น ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขาคอมพิวเตอร์กราฟิก ผู้วิจัย อาจารย์ปนัดดา วรกานต์ทิ
ชื่อผลงานวิจัย ความพึงพอใจต่อการใช้อาคารและสถานที่ของนักเรียน-นักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี ชื่อผู้วิจัย นางอรอนงค์ ชูศรี
นางดวงพร อินทจักร วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จ.ลำพูน
นางสาววรันธร ปรุงเรณู
ความพึงพอใจของสถานประกอบการ ที่มีต่อคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ของนักศึกษาฝึกงาน ปวส.1 วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค) สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก.
โดย นายสมชาย เจือจาน โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
นายวิฑูรย์ พิริยะอนันต์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
ชื่อเรื่อง ผู้วิจัย นางชลิตา บุญวันท์ การฝึกทักษะการพิมพ์ด้วยการใช้โปรแกรม เกมคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปวช.1.
ขอบเขตของการพัฒนา ทรัพยากรสารสนเทศ การเลือกทรัพยากรสารสนเทศ การประเมินคุณค่าทรัพยากร สารสนเทศ การศึกษาปริมาณของ ทรัพยากรสารสนเทศ การจัดหาทรัพยากรสารสนเทศ.
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
นางสาวเยาวลักษณ์ อินทร์ศรี สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลศรีย่าน
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้การสืบเสาะหา ความรู้แบบนำทาง
ศึกษาผลการประเมินการ ดำเนินงานระบบเรียนรู้ ของ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2552 – 2554 นางอรัญญา เอี่ยมภักดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการสร้างเว็บเพจ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย ที่ได้รับการสอนแบบ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความพึงพอใจต่อการมาใช้บริการห้องสมุด ของนักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2556 นางปริญญา ทองอ่อน วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์

ปัญหาการวิจัย ห้องสมุดมีบทบาทความสำคัญในด้านการสนับสนุนการเรียนการสอน การศึกษาค้นคว้าและเป็นแหล่งจัดเก็บ รวบรวมทรัพยากรสารนิเทศต่างๆ สำหรับผู้ที่ต้องการศึกษา หาความรู้ การสืบค้นข้อมูลสารนิเทศตามความสนใจและความต้องการเพื่อให้เกิดประโยชน์แก่ตนเองและพัฒนาสติปัญญาจิตใจ และบุคลิกภาพนำไปสู่การพัฒนาสังคมและประเทศชาติ สำหรับห้องสมุดวิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ได้ให้บริการ หนังสือ วารสาร สิ่งพิมพ์ต่างๆ ตลอดจนโปรแกรมสืบค้นหนังสือ โปรแกรม E – BOOK ไว้บริการให้แก่นักศึกษาและบุคลากรของวิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์เพื่อให้เกิดประโยชน์ที่คุ้มค่าสำหรับผู้มาใช้บริการ ผู้วิจัยจึงมีความสนใจศึกษาความพึงพอใจต่อการมาใช้บริการห้องสมุดของนักศึกษาเพื่อนำข้อมูลไปปรับปรุงพัฒนาการบริหารจัดการเพื่อให้ผู้รับบริการเกิดความพึงพอใจต่อการมาใช้บริการห้องสมุดมากที่สุด

วัตถุประสงค์ ศึกษาความพึงพอใจต่อการมาใช้บริการห้องสมุด ของนักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2556

ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากร ได้แก่ นักศึกษาที่กำลังศึกษาอยู่ที่วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2556 จำนวน 2,060 คน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักศึกษาที่กำลังศึกษาอยู่ที่วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2556 จำนวน 300 คนที่มีใช้บริการห้องสมุด ซึ่งได้มาโดยการได้กลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive sampling)

วิธีดำเนินการ สร้างเครื่องมือ รวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ แบบสอบถาม แบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ คือ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย และน้อยที่สุด สร้างเครื่องมือ รวบรวมข้อมูล ใช้แบบสอบถาม เก็บข้อมูลจากนักศึกษา จำนวนทั้งสิ้น 300 ชุด โดยการได้กลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง 1. ร้อยละ 2. ค่าเฉลี่ย (Mean: x̅ ) 3. ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน(S.D.) สถิติที่ใช้ www.utt.ac.th

ผลการศึกษา รายการ x̅ ระดับ ด้าน 1 ทรัพยากรสารสนเทศ 3.74 มาก ด้าน 2 กระบวนการ / ขั้นตอน ด้าน 3 สิ่งอำนวยความสะดวก ในการให้บริการ 3.59 ด้าน 4 บุคลากรที่ให้บริการ 3.79

ความพึงพอใจการใช้บริการห้องสมุดวิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา แบ่งเป็น 4 ด้านดังนี้ ด้าน 1 ทรัพยากรสารสนเทศ นักศึกษามีความพึงพอใจด้านทรัพยากรสสารสนเทศในภาพรวมอยู่ในระดับมากโดยมี ( x̅ = 3.74 ) และเมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่าข้อที่นักศึกษามีความพึงพอใจสูงสุด 3 อันดับแรกได้แก่จำนวนทรัพยากรสารนิเทศสำหรับประกอบการเรียนการศึกษาค้นคว้า (หนังสือ , วารสาร ) ( x̅ = 4.01 ) รองลงมาคือความหลากหลายของทรัพยากรสารนิเทศที่ให้บริการ (x̅ = 3.73 ) และ การจัดเก็บหนังสือมีความสะดวกต่อการสืบค้น ( x̅ = 3.68 ) ด้าน 2 กระบวนการ / ขั้นตอน นักศึกษามีผลการความพึงพอใจด้านกระบวนการ / ขั้นตอนการให้บริการในระดับมาก (x̅ =3.74 ) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบข้อที่นักศึกษามีความพอใจสูงสุด 3 อันดับแรกได้แก่ความเหมาะสมของอัตราค่าปรับ (x̅ = 4.08 ) รองลงมาระยะเวลาในการยืมหนังสือ (x̅ = 3.70 ) และ ความสะดวกรวดเร็วในการให้บริการ ยืม – คืน หนังสือ(x̅ = 3.68 )

ความพึงพอใจการใช้บริการห้องสมุดวิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา แบ่งเป็น 4 ด้านดังนี้ ด้าน 3 สิ่งอำนวยความสะดวกในการให้บริการ นักศึกษามีความพึงพอใจผลการสำรวจความพึงพอใจด้านสิ่งอำนวยความสะดวกในการให้บริการในระดับมาก (x̅ = 3.59 ) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่าข้อที่นักศึกษามีความพึงพอใจสูงสุด 3 อันดับแรกได้แก่บรรยากาศ แสงสว่าง และอุณหภูมิของเครื่องปรับอากาศ (x̅ = 4.04 ) รองลงมาจำนวนที่นั่งอ่านหนังสือ / โต๊ะ เก้าอี้ (x̅ = 3.37 ) และความเพียงพอของเครื่องคอมพิวเตอร์สำหรับสืบค้นข้อมูล (x̅ = 3.33 ) ด้าน 4 บุคลากรที่ให้บริการ นักศึกษามีความพึงพอใจด้านบุคลากรที่ให้บริการอยู่ในระดับมากโดยมีค่าเฉลี่ยเป็น (x̅ = 3.79 ) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบข้อที่นักศึกษามีความพึงพอใจสูงสุด 3 อันดับแรกได้แก่ความมีมนุษย์สัมพันธ์และเป็นกันเองกับผู้ใช้บริการ (x̅ = 4.01) รองลงมา ความตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่ (x̅ = 3.71 )และ การให้คำแนะนำ ตอบคำถามในการสืบค้นข้อมูล ( x̅ = 3.63 )

ขอขอบคุณ