บทที่ 1 บทนำ SIRIPONR SOMKHUMPA.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 1 ลักษณะของระบบบัญชี
Advertisements

บทที่ 4 การร่วมค้า การร่วมค้า หมายถึง การประกอบกิจกรรมเชิงเศรษฐกิจ
บทที่ 2 แนวคิดและความสำคัญของงานการขาย
ความสำคัญของการบริหารการเงิน
ความหมายของการวางแผน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุชิน ปลีหะจินดา
SMART Disclosure Program
ระบบการบริหารการตลาด


การเสวนาแลกเปลี่ยนประสบการณ์เรื่อง การจัดทำแผนกลยุทธ์ทางการเงิน
การเปิดเผยข้อมูลและ นโยบายการบัญชี
การวางแผนกลยุทธ์.
ระบบการตลาดและ หน้าที่ทางการตลาด
คำถามของการบริหารการค้าปลีก
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
BA 925 การบริหารกลยุทธ์ ภาคฤดูร้อน ปีการศึกษา 2551
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 1
องค์การสมัยใหม่ (Modern organization) หมายถึง การที่มีกลุ่มคนมาทํางาน ร่วมกันอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ได้บรรลุเป้าหมายอย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งองค์สมัยใหม่การมีลักษณะร่วมกันอยู่
สื่อการเรียนรู้ การตัดสินใจในการผลิต
สภาพแวดล้อมปัจจุบัน โลกยุคโลกาภิวัตน์ สังคม เศรษฐกิจ
บทที่ 1 เป้าหมายและหน้าที่ในการบริหารการเงินเบื้องต้น.
การจัดการตลาด ความหมายการจัดการตลาด กระบวนการการจัดการตลาด
ประเด็นด้านจริยธรรมในการใช้ข้อมูล ข่าวสาร
หลักสูตรการจัดการทั่วไป
การร่วมค้า (Joint Venture)
Health Strategic Management and Planning “การประเมินแผนกลยุทธ์”
สินทรัพย์ = หนี้สิน + ทุน
โครงการ พัฒนาศักยภาพสหกรณ์ แบบเบ็ดเสร็จตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
วัตถุประสงค์ของการศึกษาด้วยกรณีศึกษา
กลุ่ม 6 เรื่องการตลาด.
บทที่ 3 การวางแผน การบริหารจัดการที่จะประสบความสำเร็จจะต้องมีหน้าที่สำคัญ 4 ประการ การจัดองค์การ การนำ การควบคุม.
การเงิน.
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
Chapter8 การบัญชีและการวิเคราะห์งบการเงิน
บทบาทของการบริหารการเงิน (The Role Financial Management)
Good Corporate Governance
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสำนักงาน และการบริหารงานสำนักงาน
บทที่ 1 หลักการและหน้าที่ทางการเงิน
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
การวิจัยดำเนินงาน Operations research
การศึกษาความเป็นไปได้ (Problem Definition and Feasibility Study)
การเงินธุรกิจ BUSINESS FINANCE
การบัญชีเพื่อการจัดการ (Managerial Accounting) BY MANATSADA
สาเหตุของการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในธุรกิจ
IS กับ IT IS ต้องอาศัย IT
บทที่ 3 Planning.
หน่วยที่ 7 หลักการจัดการ.
การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ และ แผนธุรกิจ
Functional Level Strategy
การบริหารและกระบวนการวางแผน
บทที่ 4 การวางแผนการตลาดและแผนการขาย
การตรวจสอบ และการควบคุมภายใน
โครงสร้างของเงินทุนและการใช้ Leverage
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โครงสร้างขององค์การ.
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
ปริมาณสำรองปิโตรเลียม
การแปลงนโยบายและแผน นำสู่การปฏิบัติ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบ Introduction to the System
รหัส หนังสือหมวดวิชาชีพพื้นฐาน หลักเศรษฐศาสตร์
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
บทบาทของข้อมูลการตลาด
งานสำนักงาน หน่วยการเรียนรู้ที่ 3.
หลักการเขียนโครงการ.
บทที่ 7 การพยากรณ์ยอดขาย.
บทที่1 การบริหารการผลิต
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
บทที่ 7 การควบคุมเชิงกลยุทธ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 1 บทนำ SIRIPONR SOMKHUMPA

ความหมายของ“การเงิน”และ“การเงินธุรกิจ” ความหมายของการเงินว่า การเงินเป็นทั้งศาสตร์และศิลป์ของการบริหารเงิน ความหมายของการเงินธุรกิจในภาวะปัจจุบัน คือ การบริหารงานที่เกี่ยวข้องกับการเงินในองค์การ การเงินและการเงินธุรกิจมีหลักการที่เหมือนกัน คือ เกี่ยวกับวิธีการจัดหาเงินทุน คือ พิจารณาว่าธุรกิจจะได้เงินมาโดยวิธีใด เป็นจำนวนเท่าใด และเวลาใด จึงจะดีที่สุด

สิ่งที่คาดหวังของกิจการ กำไรสูงสุด (Profit Maximization) เป็นเป้าหมายของธุรกิจโดยคำนึงถึงกำไรรวมที่ธุรกิจสามารถหามาได้สูงสุด โดยการบริหารทรัพยากรที่มีอยู่พื่อก่อให้เกิดค่าทางเศรษฐกิจสูงสุด ความมั่งคั่งสูงสุด (Wealth Maximization) เป็นเป้าหมายของธุรกิจที่กว้างกว่ากำไร สูงสุดโดยให้ความสำคัญถึงความมั่นคงของกิจการซึ่งจะมีผลกระทบต่อราคาตลาดของหุ้นสามัญของกิจการ มูลค่ากำไรต่อหุ้นสูงสุดจะให้ความหมายที่มากกว่ากำไรสูงสุด

จุดมุ่งหมายของกิจการ กล่าวไว้ว่า ในการดำเนินธุรกิจอาจมีจุดมุ่งหมาย หลายประการพอสรุปได้ ดังนี้ 1. กำไร (Profit 2. ความสามารถทำกำไร (Profitability) 3. รายได้ต่อหุ้น (Earning per share) 4. ความมั่งคั่งสูงสุด (Wealth Maximization)

เป้าหมายของผู้จัดการ ผู้บริหารทางการเงินเพื่อผลประโยชน์ของกิจการตามที่กล่าวมาแล้ว ยังต้องคำนึงถึงสังคมโดยส่วนรวมด้วย คือ ผู้จัดการทำงานให้ได้ผลดีต่อเจ้าของทุน ลูกค้า พนักงานของธุรกิจและสังคม ส่วนรวมซึ่งอาจแบ่งออกได้ ดังนี้ การบริการ (Service) ความเจริญเติบโตของธุรกิจ (Growth) ความสามารถทำกำไร (Profitability) การดำรงอยู่ของธุรกิจ (Concerning) ความพอใจ (Satisficing)

บทบาทที่เป็นหัวใจสำคัญของการเงิน ธุรกิจไม่ว่าขนาดเล็กหรือใหญ่ต้องมีผู้รับผิดชอบจัดการด้านการเงินซึ่งมีระดับในการ รับผิดชอบที่ไม่เท่ากันขึ้นอยู่กับนโยบาย ขนาดของธุรกิจและความสามารถของผู้บริหารการเงิน 1.เจ้าของหรือผู้ถือหุ้น (OWNER PREFERENCE) 2.วัตถุประสงค์ของธุรกิจ(FIRM OBJECTIVES) 3.ทัศนคติและการตัดสินใจ (ATTITUDES AND DECISIONS) 4.สังคม (SOCIETY)กฎหมาย (LEGSL)เศรษฐกิจ(ECOOMIC) และสภาพแวดล้อม(ENVIRONMENTT) 5. นโยบายเพื่อความสำเร็จตามวัตถุประสงค์(POLICIES TO ACHIEVE

หน้าที่หลักของฝ่ายการเงินในองค์การธุรกิจ หน้าที่หลักในองค์การธุรกิจที่การเงินต้องเข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้อง คือ 1. การเงินและการลงทุน 2. การบัญชีและการควบคุม 3. การพยากรณ์และการวางแผนระยะยาว 4. การกำหนดราคา การตัดสินใจเกี่ยวกับนโยบายราคา 5. หน้าที่อื่น ๆ เช่น การให้กู้ยืมเงิน การประกันภัย และแผนการจูงใจ

หน้าที่ของผู้บริหารการเงิน (Financial Manager) หน้าที่ของผู้บริหารการเงินไว้ว่า ในปัจจุบันหน้าที่ของความรับผิดชอบของผู้บริหารการเงินได้พัฒนาและก้าวหน้าขึ้นมาก เดิมหน้าที่ของผู้บริหารเงินเพียงบันทึกรายการทางการเงินทั้งหมดให้เป็นไปตามความเป็นจริง ซึ่งอาจแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบของผู้บริหารงานการเงินได้ ดังนี้ 1. วางแผนและควบคุมทางการเงิน 2. จัดการควบคุมเกี่ยวกับทรัพย์สินของธุรกิจ 3. ตัดสินใจเกี่ยวกับการลงทุน 4. ตัดสินใจเกี่ยวกับโครงสร้างของเงินทุน 5. จัดการเกี่ยวกับการตีราคาทรัพย์สินของกิจการ ราคาหุ้น และทรัพย์สินของกิจการ

สรุป นอกเหนือจากหน้าที่ต่าง ๆ ตามที่กล่าวมาแล้ว ผู้จัดการการเงินจำเป็นจะต้องรอบรู้ในสาขาวิชาอื่น ๆ เช่น บัญชี เศรษฐศาสตร์ เป็นพื้นฐานอีกด้วย และปัจจุบันนี้ได้นำวิธีการวิเคราะห์เชิงปริมาณ (Quantitative Analysis) มาใช้เพื่อให้การบริหารงานมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ฉะนั้นจึงเห็นได้ว่า การตัดสินใจทางการเงินเป็นเรื่องที่สำคัญอย่างยิ่งและเป็นหน้าที่ของฝ่ายบริหารชั้นสูง ทั้งนี้เป็นเพราะว่าการตัดสินใจทางการเงินเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการอยู่รอดของกิจการ